Journal of Engineering Technology Access (JETA) (Online)
https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/JETA
<p><strong>ขอบเขตการตีพิมพ์</strong></p> <ol> <li>วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี</li> <li>เทคโนโลยี และวิศวกรรมศาสตร์</li> <li>ครุศาสตรอุตสาหกรรม</li> <li>นวัตกรรมเทคโนโลยี</li> </ol> <p><strong>กระบวนการประเมินบทความ</strong></p> <ol> <li>บทความทุกฉบับจะพิจารณาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน</li> <li>แบบผู้ทรงคุณวุฒิและผู้แต่งไม่ทราบชื่อกันและกัน</li> </ol> <p><strong>ประเภทของบทความ </strong></p> <ol> <li>บทความวิจัย</li> <li>บทความวิชาการ</li> <li>บทความปริทัศน์</li> </ol> <p><strong>ภาษาที่รับตีพิมพ์</strong></p> <ol> <li>ภาษาไทย</li> <li>อังกฤษ</li> </ol> <p><strong>กำหนดการตีพิมพ์ <br /></strong>วารสารตีพิมพ์ 2 ฉบับต่อปี</p> <ul> <li>ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน</li> <li>ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม</li> </ul> <p><strong>ค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์บทความ</strong></p> <p><span style="font-weight: 400;"> ทางวารสารไม่มีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมใดๆ ในการตีพิมพ์บทความ</span></p> <p><strong>บรรณาธิการวารสาร</strong></p> <p>รองศาสตราจารย์ ดร. สมชาติ โสนะแสง<br />มหาวิทยาลัยนครพนม</p>th-TH<p> </p> <p> </p>jeta@npu.ac.th (รองศาสตราจารย์ ดร.สมชาติ โสนะแสง (บรรณาธิการหลัก))jeshh02120@npu.ac.th (นายเจษฎา หงษ์ณี (ผู้ช่วยบรรณาธิการ))Sat, 28 Dec 2024 00:00:00 +0700OJS 3.3.0.8http://blogs.law.harvard.edu/tech/rss60คุณลักษณะอันพึงประสงค์และมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของนักศึกษาและบัณฑิต หลักสูตรปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม
https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/JETA/article/view/254491
<p>การดำเนินการวิจัยครั้งนี้คณะผู้วิจัยได้สำรวจความพึงพอใจคุณลักษณะอันพึงประสงค์และมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษาและบัณฑิต หลักสูตรปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม เพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้บริหารสถานศึกษาที่นักศึกษาหรือนักศึกษาออกฝึกประสบการณ์ ครูพี่เลี้ยง อาจารย์นิเทศก์ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร และนักศึกษาจำนวน 300 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการสำรวจแบบการประเมินมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม (หลักสูตรสี่ปี) พ.ศ. 2562 ฉบับนี้ คือคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์และมาตรฐานผลการเรียนรู้ โดยคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ แบ่งเป็น 6 องค์ประกอบ คือ มีค่านิยมร่วม เป็นคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม ยึดมั่นในวิชาชีพครู เป็นผู้เรียนรู้และฉลาดรู้ เป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม เป็นผู้มีความสามารถสูงในการจัดการเรียนรู้ และเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง และมาตรฐานผลการเรียนรู้ แบ่งเป็น 6 ด้าน คือด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี ด้านวิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากการผลการวิเคราะห์พบว่า ระดับความพึงพอใจคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ มีค่าเฉลี่ยเป็น 4.45 อยู่ในระดับ ดี และระดับความพึงพอใจมาตรฐานผลการเรียนรู้ มีค่าเฉลี่ยเป็น 4.62 อยู่ในระดับ ดีมาก ตามลำดับ</p>patchalai anuchaivong, สุมิตรชัย กันหาคุณ, ธนภร วัฒนนวลสกุล, มัลลิกา โคมพิทยา, วิรัชดา กาฬโอฆะ, พรพิรุณ แม้นประเสริฐ, วิศรุต ศรีวรมย์
Copyright (c) 2024 Journal of Engineering Technology Access (JETA) (Online)
https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0
https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/JETA/article/view/254491Sat, 28 Dec 2024 00:00:00 +0700Advancements in Graphene Particle Reinforcement Techniques for Aluminum Welds in Friction Stir Welding Processes
https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/JETA/article/view/256278
<p style="text-align: justify;">The integration of graphene particles in friction stir welding (FSW) of aluminum alloys has emerged as a promising approach to enhance mechanical properties, including strength, thermal conductivity, and wear resistance, which are critical for industries like automotive and aerospace. This review aims to summarize and critically evaluate the advancements in graphene particle reinforcement techniques applied to aluminum welds in FSW processes. The key focus areas include the methods of graphene incorporation, the effects of welding parameters on reinforcement efficiency, and the resulting improvements in mechanical properties. The review adopts a thematic approach, drawing upon a comprehensive analysis of existing literature to identify trends and innovations in the field. It highlights significant findings, such as the superior tensile strength and thermal properties of graphene-reinforced welds, as well as the optimization of welding conditions for uniform graphene dispersion. However, challenges remain, particularly in achieving consistent particle distribution and addressing the scalability of graphene-enhanced FSW for industrial applications. Critical gaps, including the need for improved cost-effectiveness and better control of graphene morphology during welding, are discussed. while graphene particle reinforcement has demonstrated notable potential, further research is required to address existing challenges and fully realize its industrial application. This review provides insights that are expected to guide future research efforts and technological advancements in the field</p>วิศรุต, kriangkrai intapo, Krittaphat Suwannasri
Copyright (c) 2024 Journal of Engineering Technology Access (JETA) (Online)
https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0
https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/JETA/article/view/256278Sat, 28 Dec 2024 00:00:00 +0700