Effects of Tubtim Chum Phae Rice Bran Hydrolysates on Blood Pressure and Oxidative Stress in L-NAME-induced Hypertensive Rats (ผลของไฮโดรไลเสทรำข้าวทับทิมชุมแพต่อความดันเลือดและภาวะเครียดออกซิเดชันในหนูแรทที่ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดความดันเลือดสูงด้วยสารแอลเนม

Authors

  • Somphot Chumjit (สมโภชน์ ชุมจิตร) Graduate School, Khon Kaen University
  • Dr.Weeropon Sangartit (ดร.วีระพล แสงอาทิตย์)
  • Dr.Upa Kukongviriyapan (ดร.ยุพา คู่คงวิริยพันธุ์)
  • Dr.Poungrat Pakdeechote (ดร.พวงรัตน์ ภักดีโชติ)
  • Dr.Veerapol Kukongviriyapan (ดร.วีรพล คู่คงวิริยพันธุ์)
  • Dr. Supawan Thawornchinsombat (ดร.ศุภวรรณ ถาวรชินสมบัติ)

Keywords:

L-NAME hypertension (ความดันเลือดสูงแอลเนม), Antioxidant (ภาวะเครียดออกซิเดชัน), Tubtim Chum Phae rice bran hydrolysates (ไฮโดรไลเสทรำข้าวทับทิมชุมแพ)

Abstract

The present study aimed to investigate the effects of Tubtim Chum Phae rice bran hydrolysates (TCRH) against hypertension, oxidative stress and endothelial dysfunction in nitric oxide (NO)-deficient hypertensive rats. Hypertension was induced in male Sprague-Dawley rats by administrating Nω-nitro-L-arginine methyl ester                  (L-NAME), an inhibitor of NO synthase at dose of 50 mg/kg b.w./day in drinking water for 3 weeks. Animals were randomly divided into 5 groups: normal control+deionized water (DI), normal control+TCRH 500 mg/kg,                                      L-NAME+DI, L-NAME+TCRH 250 mg/kg, and L-NAME+TCRH 500 mg/kg, respectively. Results showed that TCRH in a dose-dependent manner significantly reduced blood pressure, decreased vascular resistance, alleviated oxidative stress, and improved vasorelaxation to acetylcholine in  L-NAME-induced hypertensive rats (P<0.05). These data suggest the TCRH might be used for the prevention and /or treatment of hypertension.

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจผลของไฮโดรไลเสทรำข้าวทับทิมชุมแพ (TCRH) ต่อการต้านภาวะ ความดันเลือดสูง ภาวะเครียดออกซิเดชัน และภาวะเซลล์เอนโดทีเลียมทำงานผิดปกติในหนูแรทความดันเลือดสูง จากการขาดไนตริกออกไซด์ (NO) ภาวะความดันเลือดสูงได้เหนี่ยวนำในหนูแรท เพศผู้ สายพันธุ์ Sprague- Dawley ถูกเหนี่ยวนำให้เกิดภาวะความดันเลือดสูงโดยการให้สารแอลเนม (L-NAME) ซึ่งยับยั้งการสร้าง NO ขนาด 50 มก./กก.น้ำหนักตัว/วัน ผสมในน้ำดื่ม เป็นเวลา 3 สัปดาห์หนูทดลองถูกสุ่มและแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ หนูทดลองปกติ+ได้รับน้ำปราศจากไอออน (DI) หนูทดลองปกติ +TCRH 500 มก./กก. หนูทดลองแอลเนม +DI หนูทดลองแอลเนม+TCRH 250 250 มก./กก. และหนูทดลองแอลเนม +TCRH 500 มก./กก. ผลการทดลองพบว่า TCRH ตามขนาดความเข้มข้นสามารถลดความดันเลือดลดความต้านทานหลอดเลือด ลดภาวะเครียดออกซิเดชัน และเพิ่มการคลายตัวของหลอดเลือดต่อยา  acetylcholine ในหนูทดลองความดันเลือดสูงแอลเนมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ผลการศึกษานี้บ่งชี้ว่า TCRH อาจนำไปใช้เพื่อการป้องกันและ/หรือรักษาภาวะความดันเลือดสูง

Downloads

Additional Files

Published

2017-09-26

Issue

Section

บทความวิจัย