Prescribing Promotional Targeted Drugs: The Explanatory Phenomena (Part II: A Qualitative Study)(การสั่งจ่ายยาที่มีการมุ่งส่งเสริมการขาย: การอธิบายปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น(ตอนที่ 2 – การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ))

Authors

  • Dr. Maneerat R. Layton (ดร. มณีรัตน์ รัตนามหัทธนะ เลย์ตัน) Khon Kaen University
  • Dr. Supatra Chadbunchachai (ดร. สุพัตรา ชาติบัญชาชัย) Khon Kaen University
  • Dr. Wanapa Sritanyarat (ดร. วรรณภา ศรีธัญรัตน์) Khon Kaen University
  • Dr. Viroj Tangcharoensatien (ดร.วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร) Ministry of Public Health.

Keywords:

Physician prescribing(การสั่งจ่ายยาของแพทย์), Drug promotion(การมุ่งส่งเสริมการขายผลิตภัณฑ์ยา), Qualitative study

Abstract

This was a qualitative study conducted after a drug utilization review (Part I) of the promotional targeted drugs (PTD), which included newer, more expensive drugs launched by the multinational drug companies with heavy promotional budgets. The objectives were to to explore Thai physiciansû perception toward the PTD prescribing and factors that influenced them to prescribe a PTD by using qualitative methods: in-depth interviews and participatatory observation in promotional activities. Overall, the physicians had a positive perception toward the PTD. Nevertheless, most doctors were concerned about the cons of prescribing PTD related to the entangling relationship between doctors and pharmaceutical industry. Based on the grounded empirical data, explanatory models were established to explain the intricate multidimensional factors on prescribing PTD in Thailand. Thus, it can be useful for developing practical policies in order to promote rational drug use for a better public health nationwide.

เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพหลังจากที่ได้ทราบข้อมูลเชิงปริมาณการใช้ยาที่ได้รับการมุ่งส่งเสริมการขาย (ตอนที่ 1) ซึ่งได้แก่ยาใหม่ที่มีราคาแพง, ได้รับการพัฒนาค้นคว้าวิจัยโดยบริษัทยาข้ามชาติและมีงบประมาณการส่งเสริมการขายที่สูง ทั้งนี้เพื่อทราบทัศนะของแพทย์ต่อยาที่ได้รับการมุ่งส่งเสริมการขายตลอดจนปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจสั่งจ่ายยานี้ในกลุ่มแพทย์ไทย โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตุแบบมีส่วนร่วมในกิจกรรมการมุ่งส่งเสริมการขาย พบว่าแพทย์ส่วนใหญ่มีการรับรู้เชิงบวกที่ดีต่อตัวยาที่ได้รับการพัฒนาใหม่ แต่รู้สึกกังวลอย่างยิ่งในผลกระทบที่อาจเกี่ยวเนื่องเชิงธุรกิจจากการมุ่งส่งเสริมการตลาดต่อกระบวนการสั่งจ่ายยาของแพทย์ ผลการวิจัยนี้ได้นำไปสู่การพัฒนาแบบจำลองต่างๆ เพื่ออธิบายปัจจัยที่เกี่ยวโยงกันในหลายมิติสำหรับปรากฏการณ์การสั่งจ่ายยาที่ได้รับการมุ่งส่งเสริมการขายในประเทศไทย อีกทั้งเป็นประโยชน์ในการเสนอแนวปฏิบัติสำหรับจริยธรรมด้านการตลาดยา และนโยบายสาธารณสุขที่จะส่งเสริมให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล เพื่อสุขภาพที่ดีขึ้นของประชาชนไทยโดยส่วนรวม

Downloads

Published

2014-11-16

Issue

Section

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์