The Development of a Practice Model to Prevent Ventilator-Associated Pneumonia at Srinagarind Hospital(การพัฒนาวิธีการปฏิบัติเพื่อป้องกันปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ โรงพยาบลศรีนครินทร์)

Authors

  • ลดาวัลย์ ศรีสุวรรณ (Ladavan Srisuvan) Khon Kaen University
  • ดร.นงลักษณ์ เมธากาญจนศักดิ์ (Dr.Nongluk Methaganjanasak) Khon Kaen University

Keywords:

A practice model(รูปแบบการปฏิบัติ), Prevention(การป้องกัน), Ventilator- Associated Pneumonia(ปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ)

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหารูปแบบและแนวทางการปฏิบัติเพื่อป้องกันปลอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจ ที่เหมาะสมกับบริบทของหอผู้ป่วยเวชบำบัดวิกฤตอายุรกรรม 4ข โรงพยาบาลศรีนครินทร์ โดยใช้ระเบียบวิจัยเชิงปฏิบัติการ ผู้ร่วมวิจัยคือ 1)พยาบาลและผู้ช่วยพยาบาล 64 คน 2)ผู้ป่วยที่รักษาโดยใช้เครื่องช่วยหายใจ 178 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม การสนทนากลุ่ม การสัมภษาณ์ การสังเกตวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรยายและการจัดหมวดหมู่ สรุปประเด็น ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบแนวทางที่ได้มี 3 ระยะ คือ 1)ผู้ปฏิบัติเกิดความไม่แน่ใจ เปลี่ยนเป้นเข้าใจสถารการณ์ 2)ลงมือปฏิบัติและปรับเปลี่ยนจนได้วิธีท่เหมาะสม 3)ปฏิบัติเป้นส่วนหนึ่งของงานประจำ โดยมีกิจกรรมส่งเสริมที่สำคัญคือ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้(KM)และพูดคุยสะท้อนคิด ซึ่งกลยุทธ์ที่ใช้ประกอบด้วย การสร้างแรงจูงใจ การได้เห็นแบบอย่างจากผู้อื่นและการเสริมสร้างพลังอำนาจ ประสิทธิผลของการวิจัยพบว่าอุบัติการณ์ปอดอักเสบที่สัมพันธ์กับการใช้เครื่องช่วยหายใจในหอผู้ป่วยลดลงจาก 19.01 ครั้ง/1000 VD เหลือ 3.83 ครั้ง/1000 VD

This study aimed to develop a practice model for prevent Ventilator-Associated Pneumonia. Action research method was used consisting of 2 phases; the participants included 64 nurses and nurseassistances and 178 patients who underwent mechanical ventilator. The quantitative data were collected using questionnaire whereas qualitative data were collected through focus group interview, in-depth interview, and participated and non-participated observation. Descriptive statistics was used to analyze quantitative data while content analysis was used for qualitative data. At the end of the process, it was found that the model derived from this study had 3 stages. The effectiveness of this study was supported by the reduction of VAP incidence in the study unit 19.01 VD to 3.83 VD.


Downloads

Published

2014-11-20

Issue

Section

วิทยาศาสตร์สุขภาพ