A Comparative Study of the Bandsman Curricula of the Royal Thai Military Schools of Music(การศึกษาเปรียบเทียบ หลักสูตรนักเรียนดุริยางค์ โรงเรียนดุริยางค์เหล่าทัพ)

Authors

  • สมเกียรติ์ จุลโอภาส ( Somkiat Julaopas) Mahidol University
  • ดร.สมชัย ตระการรุ่ง (Dr. Somchai Trakarnrung) Mahidol University
  • ดร.สุกรี เจริญสุข (Dr. Sugree Charoensook) Mahidol University

Keywords:

Comparative music education(การศึกษาเปรียบเทียบทางดนตรีศึกษา), Bandsman curriculum development(การพัฒนาหลักสูตรนักเรียนดุริยางค์), Military Schools of Music(โรงเรียนดุริยางค์เหล่าทัพ)

Abstract

การวิจัยศึกษาเปรียนเทียบหลักสุตรนักเรียนดุริยางค์โรงเรียนดุริยางค์เหล่าทัพ มุ่งสืบค้นแจกแจงความเหมือน และความแตกต่าง ให้ทราบถึงแนวดน้ม และทิศทางของแต่ละหลักสูตรโดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ วิเคราะห์บริบทเนื้อหาของโครงสร้างหลักสูตร เพื่อเป็นข้อมุลในการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรนกเรียนดุริยางค์ให้มีมาตรฐานสุงยิ่งขึ้น ด้วยวิธีวิจัยประเภทการศึกษาเปรียบเทียบ ซึ่งผลการวิจัยพบว่าโครงสร้างหลักสูตรนักเรียนดุริยางค์โรงเรียนดุริยางค์เหล่าทัพมีความแตกต่าง ผันแปรจากสถาบันหนึ่งสู่อีกสถาบันหนึ่ง คุณสมบัติผู้เรียน และระยะเวลาการศึกษาของโรงเรียนดุริยางค์ทหารบก และทหารเรือมีลักษณะเหมือนกัน ในขณะที่โรงเรียนดุริยางค์ทหารอากาศมีความแตกต่าง นอกจากนี้พบว่าโครงสร้างหลักสูตรของทั้ง 3 สถาบัน มีองค์ประกอบพื้นฐาน 3 กลุ่มเหมือนกันคือ กลุ่มวิชาดนตรี กลุ่ววิชาทหาร และกลุ่มวิชาสามัญ จากผลการวิจัยนี้ สมารถเป้นตัวอย่างให้กับผุ้วิจัยท่านอื่นๆที่มีความสนใจศึกษาเปรียบเทียบดนตรีศึกษา และเป้นข้อมุลการพัฒนาหลัก สุตรการศึกษาดนตรีตะวันตกระดับการศึกษาชั้นสุงของประเทศไทยในอนาคต

The comparative study of the bandsman curricula of the royal Thai military schools of music aims to investigate the context of structures, similarities, differences, trends and directions in each of the curriculum. This qualitative research employs the content analysis as the comparative research methodology. The findings of this study illustrate the diversity of the curriculum framework of the bandsman curriculum among military schools of music. The results show that there are similarities of studentûs qualification and education length in the Army and Navy Schools of Music, and the differences in the Air Force School of Music. Furthermore, the curriculum structures of these three institutes have common three basic components; music course, military training and general education. As a result this study will provide as an example of comparative music education research in music discipline. It aims to seek the relevant information for developing western music curriculum at the military schools of music and Thailand higher education in the future.


Downloads

Published

2014-11-20

Issue

Section

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์