ชีววิทยาบางประการของกุ้งฝอย ชนิด Caridina laevis ในกุดทิงใหญ่ จังหวัดหนองคาย Some Biologiical Aspects of Freshwater Prawn, Caridina laevis in Kud Thing Thing Yai, Changwat Nongkhai
Keywords:
freshwater prawn, Caridina laevis, biologyAbstract
การศึกษาชีววิทยาบางประการของกุ้งฝอยชนิด Caridina laevis ในกุดทิงใหญ่ จังหวัดหนองคาย ทำการศึกษาระหว่างเดือนตุลาคม 2544 – เดือนพฤษภาคม 2545 ลักษณะที่สำคัญคือกรีตรงแบนช้าง ปลายโค้งเล็กน้อย ด้านบนของกรีมีฟันเล็กๆ 12-18 ซี่ ด้านล่าง 10-24 ซี่ เปลือกคลุมหัวมีร่องพาดระหว่างอกและเหงือกมีหนาวบริเวณหนวด ถัดจากส่วนของตาลงมาเล็กน้อย ปลายขาเดินคู่ที่ 1 และ 2 เป็นก้ามหนีบที่มีลักษณะคล้ายซ้อน ปลายมีพู่ขน ปล้องที่ 5 (campus) ของขาเดินคู่ที่ 1 ขาเดินคู่ที่ 3-5 ปลายเรียวแหลม ไม่มีหนามบนลำตัว ปลายของส่วนหางมีนามแหลม 4-5 คู่ ส่วนด้านหลังจะมีหนาม 5 คู่ จากการศึกษาความสัมพันธ์ความยาวตัวและความยาวตัวและความยาวหัวเพศผู้ มีความสัมพันธ์ตามสมการ ความยาวตัวและความยาวหัวของเพศเมียมีความสัมพันธ์ตามสมการ จากการศึกษาความสัมพันธืน้ำหนักกับความยาวตัวพบว่าความยาวตัวและน้ำหนักของเพศผู้มีความสัมพันธ์ตามสมการ ความยาวตัวและน้ำหนักของเพศเมียมีความสัมพันธ์ตามสการ จากความสัมพันธ์ระหว่างน้ำหนักกับความยาวหัวพบว่าความยาวหัวและน้ำหนักเพศผู้ มีความสัมพันธ์ตามสมการ ความยาวหัวและน้ำหนักเพศเมียมีความสัมพีนธ์ตามสมการ จากการศึกษาอัตราส่วนเพศมีสัดส่วนเพศผู้ต่อเพศเมียเท่ากับ 1:1.39 จากการศึกษาขนาดเจริญพันธุ์พบว่าสามารถวางไข่ได้ตลอดปีโดยช่วงที่มีจำนวนของแม่กุ้งที่มีไข่มากที่สุดคือช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน ขนาดของแม่กุ้งที่เล็กที่สุดที่พบมีความยาวตัว 9.42 มม. ความยาวหัว 1.55 มม. และน้ำหนักหัว 0.006 ก. ส่วนขนาดใหญ่ที่สุดที่พบมีความยาวตัว 22.13 มม. ความยาวหัว 5.11 มม. และน้ำหนักตัว 0.093 ก. จากการศึกษาความตกไข่พบว่า กุ้งที่มีขนาดความยาวเฉลี่ย 16.08 ( 2.33 มม. มีน้ำหนักเฉลี่ย 0.034 +- 0.017 ก. จะมีจำนวนไข่เฉลี่ย 19.87+- 7.68 ฟอง โดยไข่มีความยาวเฉลี่ย 0.55 +- 0.079 มม. จำนวนไข่ทั้งหมกับความยาวหัว มีความสัมพันธ์กันตามสมการ จำนวนไข่และความยาวลำตัวมีความสัมพันธ์กันตามสมการ จำนวนไข่และความยาวลำตัวมีความสัมพันธ์กันตามสมการ
A study on some biological aspects of Freshwaters shimp, Caridina laevis in Kud Thing Yai, Chang wat NongKai was pesformed during October, 2001 – May, 2002. The important characteristics of Caridina laevis, Rosyrum were laterally compressed and the distal part bene down with upper teeth of 12-18 and lower margin of 10-24. The carapace comprised of branchiostegal groove and antennal spine were just below an eye . The tip of frist and second periopod were chelac. The chelae looked like spoon with dense tuff of setae at the apex. Carpus of frist periopod is deeply excavate, while the posterior of last periopods were simple. There was no spine on body serface. There were 4-5 pairs of spines at posteior margin of telson, and 3 pairs