Detection and Identification of Bad Measurements in Power System Employing a State Estimation Technique (การตรวจสอบและแสดงค่าวัดที่ผิดพลาดในระบบไฟฟ้ากำลังโดยใช้วิธีการประมาณสภาวะ)

Authors

  • บัญชา วัฒนะ (Buncha Wattana) Khon Khan University
  • สัมฤทธิ์ หังสะสูตร (Dr.Sumrit Hungsasutra ) Khon Khan University
  • สุรชัย ลิ้มยิ่งเจริญ (Dr.Surachai Limyingcharoen) Khon Khan University
  • จิตติพัฒน์ ตริยางกูรศรี (Jittipat Triyangkulsri) Khon Khan University

Keywords:

weighted least square, state estimation, hypothesis test

Abstract

The energy control center continuously monitors system data such as voltage magnitudes, generating power, real and reactive power flows from various remote instrument s in the system. Communication system is the most vital means for transferring data communication between the control center and the remote substations. It is likely that the data will contain measurement's errors or noise s arising in the communication  channel. The  measurements  with  large errors are detected  by the state-estimation based on weighted least square method employing voltage magnitudes and relative phase angles as state , and corrected by !he states obtained . The statistical theory are then used to identify bad measurements. The procedure has been applied to practical data sets of  EGAT System  Region  2 some bad  measurement  has been  detected.

 

ศูนย์ควบคุมระบบกำลังไฟฟ้าได้รับข้อมูลของ ขนาดแรงดันไฟฟ้า ปริมาณกำลังการผลิต กำลังไฟฟ้าที่ไหลในสายส่งและโหลดจากอุปกรณ์วัดที่ติดตั้งอยู่ตามโรงไฟฟ้า และสถานีไฟฟ้าแรงสูงต่างๆ ผ่านทางระบบสื่อสาร ซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าข้อมูลเหล่านี้บางส่วนอาจไม่ถูกต้อง เนื่องจากความผิดพลาดของอุปกรณ์วัด หรือเกิดการรบกวนในระบบสื่อสาร ทำให้ข้อมูลที่ได้ ขาดความน่าเชื่อถือ และยังอาจส่งผลกระทบต่อการควบคุม ดังนั้น จึงต้องมีการตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลให้มีความถูกต้องมากขึ้น ซึ่งโดยหลักการประมาณสภาวะ(State estimation) จะอาศัยค่าวัดที่ได้มาคำนวณหาค่าตัวแปรสภาวะ(State variable) คือ ขนาดของแรงดันและมุมเฟส ด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุดถ่วงน้ำหนัก ทำให้ได้ค่าประมาณที่มีความผิดพลาดน้อยลง และมีการตรวจสอบความถูกต้องโดยอาศัยทฤษฎีทางสถิติ ผลการทดสอบกับข้อมูลของระบบไฟฟ้ากำลังภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สามารถแสดงค่าวัดที่ผิดพลาด และให้ค่าประมาณที่มีความถูกต้องมากกว่าค่าวัดที่ได้

Downloads

Additional Files

Published

2015-02-17

Issue

Section

วิทยาศาสตร์กายภาพ