The Construction of Kusalakammapatha X Ethics Test for Prathom Sueksa V Students (การสร้างแบบสอบวัดจริยธรรมกุศลกรรมบถ 10 สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5)

Authors

  • สุกานดา กัสมัง (Sukanda Kassamang) Khon Kaen University
  • รศ. ประภาพร ศรีตระกูล (Asso. Prof. Prapaporan Sritrakul) Khon Kaen University
  • ปาริชาติ วชิรัดดานุภาพ (Prarichat Watchiraddanupap) Khon Kaen University

Keywords:

Ethics, Kusalakammapatha X, Educational Service Area District

Abstract

The purposes of the present research were 1) to construct and find out the quality of a Kusalakammapatha X Ethics Test for Prathom Suksa V Students and 2) to establish local norms of the Kusalakammapatha X ethics test which the present researcher has developed. The sample was consisted of grade-5 students in Kalasin Province Educational Service Area District Three. The sample was organized into two groups of 92 and 386 student s. The 92-student group was used for the construction of the test and for the verification of its quality. The other 386 students were used for the establishment of local norms. The data collected at th.is stage were analyzed for the purpose of finding out construct validity. To find out construct validity, the test was scrutinized by a group expert s and by applying the known-group technique, and a t-test was used for the purpose. The discrimination power of the test was ascertained by a t -test; the reliability of the test was ascertained by alpha coefficient and local norms was ascertained by normalized t-score. The findings: The Kusalakammapatha X Ethics Test as evaluated by the experts and the results of the known-group technique combined showed t-values on the aspects of each value was significant and the .05 level. The reliability valve of test on the aspects of bodily action, verbal action, mental action and of the whole test were 0.526, 0.623, 0.576, and 0.785, respectively. The local norms of the Test varied, i.e. for the bodily action the normalized t-score ranged from T20-T76; for the verbal action T20 to T81; for the mental action T20 to T74; and for the whole test, T20 to T81.

 

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง หาคุณภาพ และสร้างเกณฑ์ปกติของแบบสอบ กลุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกษาวิจัยคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในเขตพื้นที่การศึกษา กาฬสินธุ์เขต 3 การวิจัยนี้แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เพื่อสร้างและหาคุณภาพของแบบสอบ จำนวน 92 คน และกลุ่มตัวอย่างที่นำมาใช้เพื่อสสร้างเกณฑ์ปกติท้องถิ่น จำนวน 386 คน ซึ่งนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาคุณภาพด้านของความตรงเชิงโครงสร้าง ใช้วิธีหา 2 วิธี คือ การหาโดยให้ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้พิจารณาและวิธีเทคนิคกลุ่มรู้ชัด โดยใช้การทดสอบค่าที หาค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบในการทดสอบค่าที ค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยงของแบบสอบใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แอลฟาของครอนบาค และหาเกณฑ์ปกติท้องถิ่นในรูปคะแนนที-ปกติ ผลการวิจัยพบว่าความตรงเชิงโครงสร้าง ค่าอำนาจจำแนกมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ค่าความเที่ยงของแบบสอบด้านกาย วาจาใจ และรวมทั้งฉบับมีค่าเท่ากับ 0.526ใ 0.623ม 0.576 และ 0.785 เกณฑ์ปกติท้องถิ่น มีค่าทีปกด้านกายตั้งแต่ T20 ถึง T76 ด้านวาจาตั้งแต่ T20 ถึง T81 ด้านใจตั้งแต่ T20 ถึง T74 ของแบบสอบทั้งฉบับตั้งแต่ T20 ถึง T81

Downloads

Additional Files

Published

2015-02-21

Issue

Section

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์