Effects of Plane of nutrition During Pre-partum on Milk Yield, Milk Composition and Reproductive Performance in Dairy Cows During the Post-partum (ผลของระดับโภชนาการในช่วงก่อนคลอดที่มีผลต่อผลผลิตน้ำนม, องค์ประกอบของน้ำนม และสมรรถนะการสืบพันธุ์ในช่วงหลังคล

Authors

  • ณพงศ์พจน์ สุภาพ (Naphongphot Suphrap) Khon Kaen University
  • ผศ. ดร. ฉลอง วชิราภาร (Asst. Prof. Dr. Chalong Wachirapakorn) Khon Kaen University
  • ผศ. สพญ. สุณีรัตน์ เอี่ยมละมัย (Asst. Prof. Dr. Suneerat Aimlamai) Khon Kaen University
  • รศ. ดร. สุทธิพงศ์ อุริยะพงศ์สรรค์ (Assoc. Prof. Dr. Suthipong) Khon Kaen University

Keywords:

Dairy cows, plane of nutrition, milk yield

Abstract

Ten pregnant multiparous Holstein Friesian crossbred cows were randomly allotted to receive one of two plane of nutrition during pre-partum period as followed: treatment 1- cows received concentrate at 0.95 %BW and treatment 2 cows received concentrate at 1.25 %BW one month before calving in a completely randomized design (CRD). It was found that total dry matter intakes during pre-partum and post -partum period were not different between treatments. Levels of concentrate did not affect m ilk production and composition during pre-partum period. Decrease in body condition score and fat thickness was slightly greater in cows fed concentrate at 0.95%BW than that in cows fed concentrate at l.25%BW pre-partum period. Reproductive performance was similar between two plane of nutrition groups. First heat was observed on 23 and 25 days after calving in cows fed concentrate at 0.95%BW and 1.25%BW pre-partum period, respectively.

 

การศึกษาระดับโภชนาการโดยการเสริมอาหารข้นในช่วงก่อนคลอด 1 เดือน 2 ระดับ(0.95% และ 1.25% ของน้ำหนักตัว) ในโคนมพันธุ์ผสมโฮลสไตน์ฟรีเชี่ยน จำนวน 10 ตัว สุ่มเข้าตามแผนกการทดลองแบบ completely randomized design จากการศึกษาพบว่าปรืมาณการกินได้ทั้งหมดในช่วงก่อนคลอดและช่วงหลังคลอดระหว่างระดับการเสริมอาหารข้นในช่วงก่อนคลอดไม่มีความแตกต่างในทางสถิติ (P>O.05) เช่นเดียวกับผลผลิตน้ำนมและองค์ประกอบของน้ำนม พบว่าทั้งสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกันในทางสถิติ (P>O.05) ความหนาไขมันที่สันหลัง และที่สะโพก พบว่าโคนมกลุ่มที่ได้รับอาหารข้น 1.25%BW มีค่าเปลี่ยนแปลงที่ลดลงต่ำกว่าโคนมกลุ่มที่ได้รับอาหารข้น 0.95% ในช่วงหลังคลอด สมรรถนะการสืบพันธุ์ของโคนมทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันในช่วงหลังคลอดมีค่าการกลับมาเป็นสัดครั้งแรก 23 และ 25 วัน หลังคลอด ในโคนมกลุ่มที่ได้รับอาหารข้น 0.95%BW และโคนมกลุ่มที่ได้รับอาหารข้น 1.25%BW ตามลำดับ 

Downloads

Additional Files

Published

2015-02-22

Issue

Section

วิทยาศาสตร์ชีวภาพ