การพัฒนารูปแบบการเพิ่มคุณภาพการจัดการศึกษา สำหรับสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ระดับปริญญา มหาบัณฑิต ในมหาวิทยาลัยของรัฐ (A Development of the Educational Management Quality Improvement Model for the Master Degree Program in Educational Administration in Publ

Authors

  • จารุวรรณ ประทุมศรี (Jaruwan Prathumsri) Khon Kaen University
  • ดร.ไพศาล สุวรรณน้อย (Dr.Paisan Suwannoi) Khon Kaen University
  • ดร.วรรณจรีย์ มังสิงห์ (Dr.wancharec Mungsing) Khon Kaen University
  • ดร.วัลลภา อารีรัตน์ (Dr. Wallapha Areratana) Khon Kaen University

Keywords:

Quality improvement model, Educational management quality, Performance Indicator, Master degree program in educational administration

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพี่อพัฒนารูปแบบการเพิ่มคุณภาพการจัดการศึกษาสำหรับสาขาวิชาการ บริหารการศึกษา ระดับปริญญามหาบัณฑิต ในมหาวิทยาลัยของรัฐ มีวิธีการวิจัย คือ 1) พัฒนาดัชนีบ่งซี้คุณภาพ การจัดการศึกษาสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ระดับปริญญามหาบัณฑิต ในมหาวิทยาลัยของรัฐ โดยการ สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ 9 ท่านเพี่อกำหนดองค์ประกอบดัชนีคุณภาพ และใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญ 17 ท่าน เพี่อตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการนำดัชนีไปใช้ 2) เปรียบเทียบ คุณภาพการจัดการศึกษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ระดับปริญญามหาบัณฑิตในมหาวิทยาลัยของรัฐ โดยการเก็บข้อมูลเซิงประจักษตามดัชนีคุณภาพ และการสัมภาษณ์อาจารย์ นักศึกษา และเจ้าหน้าที่ ในสาขาวิชา การบริหารศึกษา จากมหาวิทยาลัยของรัฐ 12 แห่ง 3) พัฒนารูปแบบการเพิ่มคุณภาพและนำเสนอแนวทาง และนโยบายการเพิ่มคุณภาพการจัดการศึกษาสาขาวิชาการบริหารการศึกษระดับปริญญามหาบัณฑิต ในมหาวิทยาลัยของรัฐโดยใช้แบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญ 27 ท่าน 4) ทดสอบรูปแบบการเพิ่มคุณภาพ การจัดการศึกษาสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ระดับปริญญามหาบัณฑิต โดยการจัดการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ

ผลจากการศึกษาสมรรถนะมหาบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ในขนตอนที่ 1 สามารถจำแนกเป็นสมรรถนะ 4 ด้าน คือ ด้านการปฏิบัติงานขั้นสูง ด้านการบริหารจัดการ ด้านการวิจัย และด้านการสอนและเป็นที่'ปรึกษาวิชาการ องค์ประกอบคุณภาพการจัดการศึกษาสาขาวิชาการบริหารการศึกษา ระดับปริญญามหาบัณฑิต ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ อาจารย์ หลักสูตร นิสิต/นักศึกษา กระบวนการ เรียนการสอนและการประเมินผล ทรัพยากรสนับสนุน และการบริหาร

ผลการวิจัยระยะที่ 2 การเก็บข้อมูลเชิงประจักษ์ตามดัชนีพบจุดแข็ง จุดอ่อนของการจัดการศึกบา สาขาวิชาการบริหารการสีก^ ซี่งได๚ามาเป็นข้อมูลสำหรับการดัฒนารูป^ก'1รเฟ้มค,ณภาพการจ"ดการสืกษา ในการวิจัยระยะที่ 3 และผู้วิจัยไดัสร้างเกณฑ์การเพิ่มคุณภาพตามอษ์ประกอทง 6 ศึา

จากผลการสัมมนาผู้'เชี่ยวชาญ พบว่า รูปแบบสามารถนำไปปรับไ^ศึไบ้เหมะสมตามบบท ของแต่ละมหาวิทยาลัย ซึ่งจะทำไหคุณภาพในการจัดการศึกบา1'พินชีน

ผลการวิจัยทำใหไต้รูปแบบการเพิ่มคุณภาพการจัดการศึกบา สาขาวิชาการบริพารการศึกบา รดบ ปริญญามหา'บัณฑ์ต่ใน:มหาวิทยุไสัยของ-รัฐซึ่งผู้Tจัยไดทาเป็น'คู่:มีอสํ-าพ่รับ'นา1ปป ชิ,บัศึที่ไ&าธินายองศึ'ประกอบที่สำดัญ 6 องค์ประกอบ ทั้งในส่วนที่เป็นปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต และอธิบายแนวทางไนเพิมคุภาพ การจัดการศึกษาสาขาวิชาการบริหารการศึกบารดับบ่ริญญานพานัณฟ้ตเ^^ฌภาพ และปัรินาณดาน ความต้องการของสังคมไปพร้อม า ลัน

This study was to develop the model for improvement of educational management quality for the master degree program in educational administration in public universities. Works on the research methods were as follows: (X) Develop performance indicators on educational management for the master degree program in educational administration in public universities. Nine qualified professionals were interviewed to determine on factors of quality indices and 17 experts were interviewed with questionnaire to check the suitability and applicability for the quality indices. (2) Benchmark educational management quality indices for the master degree program in educational administration. Empirical data were collected according to the quality indices and interviews were made on lecturers, students and personnel in education faculties from 12 public universities. (3) Develop the educational management quality improvement model and make policy proposals for educational management quality improvement for the master degree program in educational administration in public universities. This was accomplished by interviews with questionnaires on 27 experts. (4) Test the improvement model on educational management quality improvement with

connoisseurship seminar.

The results from the step 1 research work on the graduates from the master degree program in educational administration were found that their competency can be categorized into four dimensions. They were advanced performance, management/administration, research work, and academic teaching/ advising. There were six educational management quality factors on the educational administration program. They were lecturers, curriculum, graduate students and the graduated, teaching process and evaluation.

supporting resources, and organizational management.

The step 2 empirical data collection on the factors prescribed in step 1 resulted in advantages and disadvantages of the educational administration. The results were then used to develop the educational management quality improvement model for the step 3 research work. The researcher also constructed

quality improvement criteria for the six factors.

The connoisseurship seminar in step 4 confirmed that the constructed model can be applied to the program according to institutional context and that the educational management quality would be improved if the 

model was implemented.

This study gave the educational management quality improvement model for the master degree program in educational administration in public universities. This researcher also produced the handbook describing six quality factors each comprising input, process and output elements. The handbook also gave the improvement guidelines to obtain the graduated with both quality and quantity required by the society.

Downloads

Published

2015-03-02

Issue

Section

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์