ความหลากชนิดของโรติเฟอร์วงศ์ Brachionidae ในประเทศไทย Species diversity of the family Brachionidae (Rotifera) in Thailand

Authors

  • ศุจิภรณ์ อธิบาย (Sujipom Athibai) Khon Kaen University
  • ดร. ลออศรี เสนาะเมือง (Dr. La-orsri Sanoamuang) (Dr. La-orsri Sanoamuang) Khon Kaen University
  • Dr. Hendrik Segers Khon Kaen University

Keywords:

species diversity, family Brachionidae, Thailand

Abstract

การศึกษาความหลากชนิดของโรตเฟอร์วงศ์ Brachionidae ในแหล่งนำประเภทต่างๆ ใบประเทศไทย จำนวน 294 แหล่งนํ้า รวมทั้งสิน 507 ตัวอย่าง โดยเก็บตัวอย่าง 2 ฤดู คือ ฤดูแล้ง และฤดูฝน ทั้งแต่ เดีอนพฤษภาคม 2541 ถึงเดือนมกราคม 2547 ผลการศึกษาพบโรติเฟอร์วงศ์ Brachionidae 5 สกุล 27 สปีชีล้ 9 ฟอร์ม สกุลที่มีความหลากซนิดมากที่สุด คือ สกุล Brachionus พบ 17 สปีซีล้ และ 9 ฟอร์ม สกุลที่มี ความหลากชนิดน้อยที่สุด คือ สกุล Plationus และ สกุล Platyias พบเพียง 1 สปีชืสั ชนิดที่พบบ่อยเรียงตาม ความถทพบ ได้แก่ Brachionus falcatus Zacharias (ร้อยละ 51.02 ของแหล่งนา), Keratella cochlearis (Gosse) (ร้อยละ 50.68), B. angularis Gosse (ร้อยละ 50.00), K. tropica (Apstein) (ร้อยละ 46.60), B. forficula Wierzejski (ร้อยละ 45.92) และ Anuraeopsis fissa (Gosse) (ร้อยละ 35.37) ชนิดที่พบไม่บ่อย โดยพบเพียง 1 แหล่งนำ ได้แก่ Brachionus durgae Dhanapathi, B. sericus Rousselet และ B. urceolaris (Muller) แหล่งนา ทมีความหลากชนิดของโรติเฟอร์วงด้ Brachionidae มากที่สุด ได้แก่ หนองช้างเผือก                                                                                                                     แสะบึงศรีธาตุ

เป็นแหล่งนำทอยู่ในเขตจังหวัดอุดรธานี โดยพบ 15 สปีซีส์ จากการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ พบว่าจำนวนชนิดของ โรติเฟอร์วงด้Brachionidae มีแนวโน้มมีความสัมพันธ์[นทิศทางเดียวกันกับอุณหภูมินํ้ๅ และความเป็นกรด-ด่าง แด่มีแนวโน้มมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันช้ามกับด่าการนำไฟฟ้า และความเค็ม

ABSTRACT

Diversity of rotifers in the Family Brachionidae in Thailand was investigated. Five hundred and seven samples were collected from 294 sampling sites in two occasions during dry and rainy seasons during April 1998 and January 2004. Twenty seven species and 9 forms belonging to 5 genera were identified. Brachionus was the most diverse genus, comprising of 17 species and 9 forms while Plationus and Platyias were the least diverse genera, only one species was found. The most

frequently encountered species were Brachionus faJcatus Zacharias (51.0296), Keratella cochlearis (Gosse) (50.6896), B. angular is Gosse (50.0096), K. tropica (Apstein) (46.6096), B. forficula พierzejski (45.9296) and Anuraeopsis fissa (Gosse) (35.3796). The least frequently encountered species were Brachionus durgae Dhanapathi, B. sericus Rousselet and B. urceolaris (Muller). These species were found only in single site. The highest species diversity is in Nongchangpeuak and Buengsrithat in Udonthani province, 15 species were found. The correlation analysis shows that temperature and pH tend to be positively related to species diversity while conductivity and salinity tend to be negatively related to species diversity.

Downloads

Published

2015-03-03

Issue

Section

วิทยาศาสตร์ชีวภาพ