ผลของการใช้หนังสือการ์ตูนตัวแบบ ต่อการพัฒนา พฤติกรรมจริยธรรมชองนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) The Effect of Using Comic Cartoon Modeling on Pratomsuksa IV Student’s Moral Behavior, Khon Kaen Demonstration Schoo

Authors

  • กรุณา ศรีแสน (Karuna Srisaen) Khon Kaen University
  • ดร. นิตย์ บุญหงามงคล (Dr.Nit Bungamongkon) Khon Kaen University
  • นภดล มีไชยโย(Nopphadon Meechaiyo) Khon Kaen University

Keywords:

Comic Cartoon Modeling, Moral Behavior, Pratomsuksa IV Student’s

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มืวัตถุประสงค์เพี่อศึกษาผลของการใช้หนังสือการ์ตูนตัวแบบต่อการพัฒนาพฤติกรรม จริยธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ศึกษาศาสตร์) กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในงานวิจัยคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/2 ภาคปลาย ปีการศึกษา 2545 จากผลการประเมินพฤติกรรม จริยธรรมซองนักเรียน เลือกกลุ่มตัวอย่างจากนักเรียนที่มีคะแนนที่ควรปรับปรุงโดยน่าคะแนนมาเรียงจากนัอยไป มากแล้วน่าคะแนนมาจับคู่กันและใช้วิธีลุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling)) แยกแต่ละคู่ให้อยู่ในกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 10 คน รูปแบบการวิจัยเปีนแบบ Randomized control group Pretest-Posttest Design

ในการวิจัยครั้งนี๋ใช้เครื่องมือที่ผูวิจัยสร้างขึ้น คือ แบบประเมินพฤติกรรมจริยธรรม ซงมืค่าความเชอมั่น

แบบ Alpha Coefficient ของ Cronbach .83 แผนการจัดประสบการณ์ และหนังสือการ์ตูนตัวแบบแสดง

พฤติกรรมจริยธรรม จำนวน 10 เรื่อง กลุ่มทดลองไตัรับฟ้ง ตู และอ่านหนังสือการ์ตูนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นสัปดาห้ละ

3 ครั้ง ครั้งละ 50 นาที จำนวน 10 ครั้งติดต่อกัน กลุ่มควบคุมได้รับการจัดการเรียนการสอนตามปกติ วิเคราะห้1 

ขอมูสโดยใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) The Mann-Whitney บ Test และ The Wilcoxon Signed Rank Test

ผลการวิจ้อปรากฏว่า

  1. พฤตกรรมจริยธรรมของนักเรียนกลุ้มทดลองสูงกว่ากลุ่มคาบคุ!Jอย่างมีใาย£กํดัญู)ใางสถิติที่ระดั'บ 01
    1. พฤตกรรมจรยธรรมชองนกเรยนกลุมาๅดลอง บ ลงการทดลองสูงกว่าก, 3น การบตส อง อย่างมีนัย่สำดัก]ทางสถิติ ที่ระดับ .01  
    2. The objective of this research was to study the effect of using comic cartoon modeling on pratomsuksa IV student’s moral Behavior, Khon Kaen Demonstration school, Khon Kaen University. The sample were pratomsuksa IV Student’ร, second semester, 2002 academic year at Khon Kaen Demonstration School, Khon Kaen University. They were assigned to the experimental group and control
    3. group by simple random sampling. The research design was Randomized control group Pretest-Posttest Design.

      The instruments were Moral Behavior Evaluation forms of Pratomsuksa IV student, the Lesson plan for Pratomsuksa IV student and Comic cartoon modeling.

      The experimental group was provided with the comic cartoon modeling 50 minutes, three times a week, 10 times.

      Data were analyzed data by using Mean, S.D., The Mann-Whitney บ Test and The Wilcoxon Signed Rank Test.

      1. The Moral Behavior of the experimental group was higher than those of the control group at the significant level of .01
      2. The Moral Behavior of the experimental group at the posttest was higher than the pretest at the significant level of .01

Downloads

Published

2015-03-03

Issue

Section

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์