ความชุกซองโรคคอพอกและการได้รับสารไอโอดีน ในเด็กนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 อำเภอปากชม จังหวัดเลย Prevalence of Goiters and Iodine Intake in Primary School Children Grade 1-6 in Pakchom District, Loei Province
Keywords:
goiter, iodine, iodine intakeAbstract
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเซิงพรรณนา (Descriptive Research) โดยมุ่งศึกษาความซุกของโรค คอพอกและการได้รับ สารไอโอดีนในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ซองอำเภอปากซม จังหวัดเลย
ระหว่างเดือน พฤศจิกายน 2546-กันยายน 2547 กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา อายุ 6-12 ปี จำนวน 242 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเซิงปริมาณโดยใช้แบบสัมภาษณ์ความชุกโรคคอพอกและ การได้รับสารไอโอดีนในเด็กนักเรียน และการตรวจร่างกายประเมินโรคคอพอกในเด็กนักเรียนโดยวิธีการคลำคอ (palpation) ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนเป็นโรคคอพอกร้อยละ 12 โดยแยกเป็นคอพอกระตับที่ 1 ร้อยละ 11.6 และคอพอกระดับที่ 2 ร้อยละ
- 4 ส่วนการบริโภคอาหารทะเลในรอบ 1 เดือนที่ผ่านมามีนักเรียนเคยได้รับประทานอาหารทะเล ร้อยละ 66.1 ซี่งส่วนใหญ่บริโภค ปลาทู เหตุที่ไม่ได้บริโภคอาหารทะเล ส่วนใหญ่คือ อาหารทะเลหายาก ซึ่งความถี่ในการบริโภค นักเรียนส่วนใหญ่บริโภคปลาทูบ่อยที่สุด (ทุกสัปดาห์) ส่วนผลิตภัณห์เสริมสารไอโอดีนนักเรียนบริโภค
บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปเสริมสารไอโอดีนบ่อยครั้งมากที่สุดทุกสัปดาห์ ส่วนการใข้เกลือไอโอดีนในครัวเรือนของ นักเรียนพบว่าใช้เกลือไอโอดีนเพียง 69 ครัวเรือนคิดเป็นร้อยละ 28.5 ซึ่งในส่วนนี้พบเกลือที่มีความเข้มข้น ของไอโอดีนในเกลือน้อยกว่า 30 ppm. ถึงร้อยละ 52.2
This descriptive study aims to investigate prevalence of goiters and iodine consumption of primary school children grade 1-6 in Pakchom district, Loei province during November 2003 to September
2004 Samples were 242 school children aged 6-12 years. Data were collected using questionnaires and palpation for goiter examination.
The results showed that 12% of school children were goiters and classified to grade 1 (11.6%) and grade 2 (0.4%). For prevention behavior, 66.1% of school children had ever eaten seafood during the last one month, mostly were mackerel. Main reason for not eating seafood was unavailability. According to food frequencies, mackerel was most frequently eaten (every week) food item followed by fortified instant noodle (weekly). Sixty nine (28.5%) out of 242 households used iodized salt.