การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเซิงเส้นของ ปัจจัยที่ส่งผลต่อความท้อแท้ในการบริหารงานของ ผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ A Structural Equation Modeling of Job Burnout Among Primary School Principals in Northea

Authors

  • มัณฑนา อินทุสมิต (Muntana Inthusamith) Khon Kaen University
  • ดร.วิโรจน์ สารรัตนะ (Dr. Wirot Sanrattana) Khon Kaen University
  • ดร.นิตย์ บุหงามงคล (Dr. Nit Bungamongkon) Khon Kaen University
  • Dr. Forrest W. Parkay Khon Kaen University

Keywords:

structural equation model, primary school principals burnout, factors affecting primary school principals burnout

Abstract

การวิจัยนี้       มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนารูปแบบความส้มพันรํโครงสร้างเซิงเส้นยอจัยที่สํงผล

ต่อความ ท้อแท้ในการบริหารงานของผู้'บริหารโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใซิใบการวิจัยคเงนี้ ไตัแก่ ผู้บรีาร โรงเรียน สังกัด สำนักงานเขตพืนที่การศึกษาในภาคตะวับออกเฉียงเหบื จำบาบ 443 คน ได้มาโดยการ ลุ่มตัวอย่างแบบหลายขันตอบ การเก็บรวบรวมข้อมูลกระทำโดยใช้แบบสอบกาบ

เครองมอท้ใช้ในการเกบรวบรวมข้อมูล'ใบการศึก'บาค!งบี เป็นแบบสอบกามพื้ผู้วิจัยสร้างพื้นบนรุ-,น แนวคิดทฤษฎีของตัวแปร วิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานโดยใช้โปรแกรมสำเร็ชุรูป SPSS £01. Windows แสะใช้ โปรแกรมลสเรล version 8.30 ในการวิเคราะห์ องค์ประกอบเซิงยืนยัน และตรวจสอบความสอดคส้อง ระหวิางรูปแบบตามทฤษฎีกับข้อมูลเซิงประจักพั

ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของปัจจัยที่ส่งผลต่อความท้อแทํในการ บริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยรูปแบบสุดท้าย

มีค่าสถิติดังต่อไปนี้ (ว2= 46.36 ที่ df = 60, P-value = 0.90, RMSEA = 0.00, GFI = 0.99, AGF1 = 0.96 ปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมต่อความท้อแท้ในการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียน โดยเรียงลำดับค่าสัมประสิทธอิทธิพลมาตรฐานจากมากไปหาน้อย มีดังนี้ (1) อิทธิพลทางตรง มี 2 ปัจจัย คือ การรับรู้การสนับสนุนทางสังคมจากคณะครูในโรงเรียน และ การรับรู้การสนับสมุนทางสังคมจากเพื่อนผู้บริหาร (2) อิทธิพลทางล้อม มี 2 ปัจจัย คือ ความเชื่ออำนาจแห่งตน และการรับรู้การสนับสมุนทางสังคมจาก เพื่อนผู้บริหาร (3) อิทธิพลรวม มี 3 ปัจจัย คือ ความเชื่ออำนาจแห่งตน การรับรู้การสงรับสมุนทางสังคม จากคณะครูในโรงเรียน และการรับรู้การสนับสมุนทางสังคมจากเพื่อน ตามลำดับ เมื่อพิจารณาค่า R square พบว่า ตัวแปรที่นำมาศึกษาในรูปแบบ สามารถอธิบายความแปรปรวนของความเครียดในงานและความท้อแท้ ในการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนได้ ร้อยละ 45 และ 50 ตามลำดับ

This study was to develop a linear structural equation model of factors affecting job burnout among primary school principals in Northeast Thailand.The research sample consisted of 443 principals drawn from 10 educational service area offices in Northeast Thailand. The sampling method was the multi-stage random sampling, using questionnaires based on variables from review on theories and researches.

The collected data were analyzed with SPSS for Windows software to obtain basic statistics and the LISREL Version 8.30 program was further employed to construct the linear structural equation model and for confirmatory factor analysis.

The research findings were as follows: The linear structural equation model of factors affecting job burnout among primary school principals as designed by the researcher was fitted with the empirical data. The final model developed showed that the fitness between the data and the model indices were as follows: Chi-square = 46.36, df = 60, P-value = .90, RMSEA = 0.00, GFI = 0.99, AGF1 = 0.96.

The factors that had direct, indirect and total effect towards job burnout among primary school principals by decreasing order of standardized path coefficients were : (1) Direct Effect : perceived social support from teachers in school was the highest effect, followed by perceived social support from peers. (2) Indirect Effect ะ locus of control was the highest effect, followed by perceived social support from peers. (3) Total Effect ะ locus of control was the highest effect, followed by perceived social support from teachers and perceived social support from peers. The R-square of a structural linear equation model of job burnout among primary school principals can explain the variances of the principals’ job stress and job burnout with the prediction power of 0.45 and 0.50 respectively.

Downloads

Published

2015-03-03

Issue

Section

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์