การวิเคราะห์องค์ประกอบความรับผิดชอบ ต่อสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดมหาสารคาม Factor Analysis of Social Responsibility for Mattayom 3 Students Attending Secondary Schools under the General Education Department in Ma
Keywords:
social responsibility, factor analysisAbstract
ความรับผิดชอบต่อสังคมมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาสังคมไทย เนื่องจากบุคคลมีภาระ หน้าที่ที่จะต้องเกี่ยวข้อง อีกทั้งมีส่วนร่วมต่อสวัสติภาพของสังคมที่ตนดำรงอยู่ ดังนั้นการัวิจัยครั้งนี้มี,จุดมุ่ง หมายเพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบความรับผิดชอบต่อสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และเปรียบเทียบ ความรับผิดชอบต่อสังคมระหว่างนักเรียนชายและนักเรียนหญิง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2547 จำนวน 990 คน ซึ่งได้มา ด้วยการสุ่มแบบหลายชั้นตอน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบวัดความรับผิดชอบต่อสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดมหาสารคาม เป็นแบบสถานการณ์เลือกตอบ 5 ตัวเลือก ค่าความ เชื่อมั่นของแบบวัดทั้งฉบับเท่ากับ 0.89 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ สถิติพื้นฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบ เซิงสำรวจ และการวิเคราะห์ความแปรปรวนตัวแปรพหุ ผลการวิจัยปรากฏตังนี้
- ความรับผิดชอบต่อสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัด มหาสารคาม วิเคราะห์ใต้ 7 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบด้านการรักษาทรัพยากร ด้านการมีส่วนร่วมใน กิจกรรมต่างๆ ของสังคม ด้านการเสิยสละต่อส่วนรวม ด้านการปฏิบัติตามกฎหมายบ้านเมือง ด้านการรักษา ทรัพย์สมบัติของส่วนรวม ด้านการรักษาสิ่งแวดล้อม และด้านการปฏิบัติตามหลักคุณธรรมนักเรียนชายและนักเรียนหญิงมีความรับผิดชอบต่อสังคมไม่แตกต่-,งกัน
โดยสรุปผลการศึกษานี้'กำ'ไห'ได้องค์ประกอบความรับผิดซอบต่อสังคมของนัก1,รียนชั้นมัธยมติกษๅปีนี่ 3 สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดมหาสารคาม ซึ่งครูผู้สอน ผู้บรีหารสถานศึกษา ตลอดจนผู้ที่เกี่ยวข้องควรไม้ ความสนใจและน่าไปเป็นข้อมูล'ไนการปรับ!เรุงและ'ปลูกผิง,ไม้'นักเรียนมีดวามรันผิตซอบต่3สังคมสูงชั้นต่ฏไ1J
The social responsibility is important for Thai society development because it is one’s duty to involve and take part to one’s society security. This research aimed to analyze factors of social responsibility of Matthayomsuksa 3 (Grade 9) students, and to compare scores in factors of the social responsibility of the students with differences ๒ gender. The sample consisted of 990 Matthayomsuksa 3 (Grade 9) students attending secondary schools in the first semester of academic year 2004, obtained through the multi-stage random sampling technique. The instrument used was a scale on social responsibility of students which were situations with five alternatives and with a reliability of 0.89. The data were analyzed by the uses of basic statistics, exploratory analysis of factors, and multivariate analysis of variance. The results of the research were as follows;
- Social responsibility of Matthayomsuksa 3 (Grade 9) students was analyzed in 7 aspects ะ resources preservation, social activities participation, public donation, social law practice, public property preservation, environment preservation and moral practice.
- The male and female students did not show responsibility differently.
In conclusion, the results of this research could provide factors of social development of Matthayomsuksa 3 (Grade 9) students attending secondary schools under the general Education Department in Mahasarakham province. Therefore, teachers, administrators and involved persons should be interested in and use these factors as information to establish and enhance students’ social responsibility in the future.