การพัฒนากิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์เพื่อส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนในช่วงชั้นที่ 3 โรงเรียนในอำเภอศรีบุญเรือง สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาหนองบัวลำภู เขต 1 The Development of Science Project Activities to Enrich Creativity for Students in the Thir

Authors

  • ณัฐพงษ์ ฉลาดแยม (Nattapong Chaladyam) Khon Kaen University
  • ดร.สถาพร ขันโต (Dr. Sathapom Khanto) Khon Kaen University
  • ดร.อิศเรศ พิพัฒนมงคลพร (Dr. Isaret Pipatmongkolpom) Khon Kaen University

Keywords:

science Project, creativity

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนากิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ที่เน้นการส่งเสรีมความ คิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนในช่วงชั้นที่ 3                                         (2) เพื่อศึกษาความคิดสร้างสรรค์ทาง

วิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนโรงเรียน บ้านหินตลาดที่ไตัมาจากการสุ่มอย่างง่ายตัวยวิธีการจับฉลาก โรงเรียนที่เปีดสอนในช่วงชั้นที่ 3 จำนวน 25 โรง ในอำเภอศรีบุญเรือง เป็นนักเรียนที่สมัครใจเลือกเรียนกิจกรรม โครงงานวิทยาศาสตร์ จำนวน 30 คน

เครื่องมือ,ที่ใซในการวิจัย มี 2 ประเภท ได้แก่ (1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แผนการจัด กิจกรรมโครงงานวิทยาศาสตร์ จำนวน 11 แผน (2) เครื่องมีอที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบ บันทึกหลังการจัดกิจกรรม แฟ้มสะสมงานกลุ่ม และแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ ผลการวิจัยพบวัา

  1. ความหมายว่า เหมาะสมมาก และกิจกรรมนี้เป็นกิจกรรมที่ทำให้ผู้เรียนมีความคิดที่เป็นอิสระ กล้าแสดง ความคิดเห็น มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซี่งกันและกัน สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ อย่างเป็นระบบและมี แนวทางในการแก้ปัญหาที่แปลกใหม่ เนื่องจากเป็นกิจกรรมที่ใซ้รูปแบบวิธีระดมสมอง กระบวนการกลุ่ม การตังคำถามกระตุ้น ซึ่งวิธีการตังกล่าวเป็นวิธีแกผู้เรียนให้เพิ่มพูนคุณลักษณะด้านความคิดสร้างสรรค์ทวง วิทยาศาสตร์
  2. ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างคะแนนความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ก่อนเรียน และ หลัง เรียน พบว่าคะแนนความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนของกลุ่มตัวอย่างสูงขึ้นกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ABSTRACT

The objectives of this research were: (1) to develop science project activities to enrich creativity for students in the third level, (2) to study science creativity of students who learned by using science project activities. The sample were 30 students of Ban Hin Ta Lad School selected from Simple Random Sampling by sampling schools offering in the third level, total of 25 schools in Sribunruang School. They volunteered to select science project activities.

There were 2 kinds of instruments: (1) testing instrument including 11 plans of science project activities plan, and (2) the instrument for data gathering from record form after activities management of portfolio and creativity test in science.

The research findings were as follows:

  1. For the science project activities developed by the researcher included 4.40 of appropriateness evaluation score.

น meant that it was very appropriate and this activity was an activity which made free thought, be assertive to express one’s opinion, share one’s opinion with each other, and able to solve problems systematically and have new way of problem solving owing to be activities using these styles: brainstorming, group process, asking questions for stimulating. Those techniques were methods of practicing students to promote the students’ creativity in science.

  1. For comparison of the mean between creativity score in science before studying or pre-test and after studying or post-test, found that for the post-test of the sample’s creativity scores in science were higher than the pre-test at the .05 level.

Downloads

Published

2015-03-03

Issue

Section

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์