ผลของระดับโปรตีนในสูตรอาหารผสมสำเร็จรูปโดยใช้ซังข้าวโพด ร่วมกับฟ่างข้าวเป็นแหล่งอาหารหยาบ ต่อกระบวนการหมักใน กระเพาะรูเมน ผลผลิตและองค์ประกอบนํ้านมในโครีดนม Effect of Level of Crude Protein in Total Mixed Ration (TMR) with Corn Cobs and Rice Straw as Roug
Keywords:
crude protein, dairy cattle, total mixed raionAbstract
การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตีกษาระดับโปรตีนในสูตรอาหารผสมสำเร็จรูปสำหรับโคนม โดยโข โคนมพันธุผสมโฮลสไตนัฟรีเชี่ยน (50-62.5 เปอรัเซ็นต) นี้าหนักเริ่มดันเฉลี่ย 421.3 ± 44.3 กิโลกรัม ช่วงการให้นมเริ่มดันเฉลี่ย 62 ± 4.2 วัน จำนวน 4 ตัว วางแผนการทดลองแบบ 4X4 จตุรัสลาตีน ระยะทดลอง 21 วัน ต่อ 1 ช่วงการทดลอง โคนมได้รับอาหารสูตรอาหารผสมสำเร็จรูปที่มีซังข้าวโพดร่วมกับ ฟางข้าวเป็นแหล่งอาหารหยาบในสัดส่วนของอาหารหยาบต่ออาหารข้น 40 ต่อ 60 ทึ่มโปรตีน 12, 14, 16 และ 18 ฟอรัเซ็นค์ ตามสำดับ จากการทดลองพบว่าระดับโปรตีนที่เพิ่มขึ้นทำให้ปริมาณการกินได้ของวัตถุแห้งเพิ่ม สูงขึ้น ส่งผลให้โคนมได้รับโปรตีน และอินทรียวัตถุ เพิ่มขึ้นแบบเส้นตรง (p<0.05) โดยโคนมทึ่ได้รับอาหารที่มี ปริมาณโปรตีน 14 และ 18 ฟ์อร์เซ็นต์ ไม'มีความแตกต่างกัน นอกจากนี้พบว่าส้มประลิทธการย่อยได้ของ โภชนะ แอมโมเนีย-ไนโตรเจน และกรดไขมันที่ระเหยได้ทั้งหมดของของเหลวจากกระเพาะรูเมนไม่มีความ แตกต่างกัน (p>0.05) และทำให้ผลผลิตนี้านม และปริมาณโปรตีนในนานมเพิ่มสูงขึ้นแบบเส้นตรง (p<0.05) ส่งผลทำให้ของแข็งไม่รวมไขมันในนํ้านมเพิ่มขึ้นแบบเส้นตรง (p<0.01) นอกจากนี้ยังพบว่ายูเรียในกระแสเลือด (10.9, 14.2, 19.9 และ 19.4 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์) (p<0.05) และยูเรียนี้านมก็เพิ่มขึ้นแบบเส้นตรงตาม ระดับโปรตีนในสูตรอาหารผสมสำเร็จรูป (7.9, 13.3, 24.1 และ 28.3 มีลลิกรัมเปอร์เซ็นต์) (p<0.01) จากการสืกษาคเงนี้สรุปได้ว่าควรใช้สูตรอาหารผสมสำเร็จรูปทึ่มีระดับโปรตีน 14 เปอร์เซ็นต์ สำหรับโคนม ที่ให้ผลผลิตนํ้านม 10-15 กก/ตัว/วัน
The objective of this experiment was to รณdy levels of crude protein (CP) in total mixed ration (TMR) in lactating dairy cows. Four crossbred Holstein Friesian (50-62.5 #0 cows with initial weight of 421.3 ± 44.3 kg and 62 ± 4.2 days in milk were randomly allotted according to a 4X4 Latin Square Design (21 days/period). The cows were fed TMR ๒ which com cobs and rice straw were used as roughage sources supplemented with concentrate at 40:60 ratio containing 12, 14, 16 and 18 # of CP, respectively. It was found that higher level of CP in TMR resulted in linearly increasing voluntary dry matter intake, protein intake and organic matter intake, but there was no significant (p>0.05) deference between 14 and 18 of CP. Digestion coefficients, ammonia-nitrogen and total volatile fatty acids were not different (p>0.05) among dietary treatments. However, daily milk yield, milk protein and soiids-not-fat were increased as levels of CP in TMR were increased. In.addition, increasing levels of CP in TMR resulted in significantly increased blood-urea nitrogen and milk-urea nitrogen (p<0.05). It is, therefore, concluded that TMR containing 14 °A> of CP meets the protein requirement for lactating cows producing 10-15 kg milk/hd/d.