ผลของแหล่งอาหารพลังงานในสูตรอาหารข้นต่อปริมาณการกินได้ รูปแบบกระบวนการหมักในกระเพาะหมัก ความสามารถในการอ่อย ได้ และอัตราการไหลผ่านของอาหารในโคเนื้อ Effects of Energy Feed Source in Concentrate on Voluntary Feed intake, Ruminal Fermentation, Digestibility

Authors

  • เวียงสกุล นานาประเสริฐ (Viengsakoun Napasirth) Khon Kaen University
  • ดร. กฤตพล สมมาตย์ (Dr. Kritapon Sommart) Khon Kaen University
  • ดร. สุรเดช พลเสน (Dr. Suradej Pholsen) Khon Kaen University

Keywords:

cassava, cassava by-product, feed, beef cattle

Abstract

การคืกษาครั้งนื้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบการใช้ประโยซน''แหล่งอาหารพลังงาน และผลพลอยได้ จากโรงงานอุตสาหกรรมแป้งมันสำปะหลังในโคเนื้อ โดยแบ่งออกเป็น 2 การทดลองคือ การทดลองที่ 1) คืกบาคุณค่าทางโภชนะ และจลศาสตร์การยอยสลายในหลอดทดลอง (in vitro gas production) ใช้แผนการ ทดลองแบบส่มสมบูรณ์ ทดสอบอาหาร 4 สูตรที่มีสัดส่วนของมันสำปะหลังเสัน ช้าวโพดบด เปลือกมันสำปะหลัง และกากมันสำปะหลัง อัตราร้อยละ 26 ในสูตรอาหารสำเร็จ พบว่า อาหารทั้ง 4 สูตร มีอัตราการผลิตแก็ส แดกต่างกันทางสถิติอย่างมีมัยสำคัญยิ่ง (p<0.01) โดยสูตรมันเส้นมีค่าเท่ากับ 0.034, ข้าวโพดบด 0-023, เปลือกมันสำปะหลัง 0.029 และ กากมันสำปะหลัง 0.027 เปอร์เซ็นต์ต่อชั่วโมง ความสามารถของการย่อย ได้ในหลอดทดลองของวัตถุแห้ง และอินทรียวัตถุ ณ ชั่วโมงที่ 12 ไม่แตกต่างกัน (p>0.05) แต่ ณ ชั่วโมงที่ 24 พบว่า แตกต่างกันทางสถิติอย่างมีมัยสำคัญยิ่ง (p<0.01) โดยการย่อยได้ของวัตถุแห้งก็พบว่ามีความแตกต่างกัน (pcO.Ol) ในสูตรมันสำปะหลังเส้นมีค่าเท่ากับ 50.20, ข้าวโพดบด 37.25, เปลือกมันสำปะหลัง 42.50 และกากมันสำปะหลัง 42.74 เปอร์เซ็นต์ การย่อยได้ซองอินทรียวัตถุ มีค่าเท่ากับ 52.25, 38.80, 44.45 และ 44.20 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ การทดลองที่ 2) คืกษาผลซองแหล่งอาหารพลังงานโดยใช้มันสำปะหลังเส้น ข้าวโพดบด เปลือกมันสำปะหลัง และกากมันสำปะหลัง สัดส่วนร้อยละ 50 ในสูตรอาหารข้น ใช้ร่วมกับฟางข้าว เป็นอาหารหยาบโดยให้กินแบบเต็มที่ ในโคเนื้อพันธุบราห้มันเพศเมียสาว อายุ 1.5 ปี นื้าหมักตัวเฉลี่ย 160.4 ± 9.3 กิโลกรัม ใช้แผนการทดลองแบบ 4x4 ละตินสแควร์ พบว่า ปริมาณการกินได้ทั้งหมดของวัตถุแห้ง และปริมาณการกินได้ต่อนื้าหมักตัวเมทธาโบลิกต่อวัน ในโคที่ได้รับกากมันสำปะหลังมีค่าสูงสุดโดยแตกต่ๆง

จากมันสำปะหลังเสัน (p<0.05) ๗ความสามารถในการย่อยได้ของ^ยนะ รูปแนน และผลผลิตสุตด้ายจาก การกระบวนการทมัก ค่าชีวเคมีทางกระแลเลือด อัตราการเจรญเฉลี่ยเดินโตเฉลี่ยต่3กัน อัตราการไทลผ่าน ของช่องเหลวในกระเพาะทมัก และอัตราการไหลผ่านของของuกั,ไนทางเดินอาหาร ไม่มีความแตกต่างกัน ทางสถิติ (p>0.05) จากการดิกษาครั้งนี้สรุปได้ว่า สามารถใช้เปลือกมันสำปะหลังแสะกากมันล่าปหกั, จากผลพลอยได้อุดสาหกรรมแปงมันทตแทนแหล่งอาหารพลังงานได้ไ3ตรอาหารกันของคเ^ดย^ผณสีย

ต่อตัวสัตว์

ABSTRACT

The objective of this studies focused on the utilization of energy feed sources and cassava starch industry by-product in beef cattle. In experiment I, a study was conducted to determine nutritive value by in vitro gas production technique in a complete randomize design (CRD). There were 4 treatments (cassava chip, com meal, cassava peel and cassava pulp 26 ¥> of each in total mixed ration, TMR) with 4 replications. It was found that the rate of gas production (c) were significantly different among treatments (cassava chip 0.034, com meal 0.023, cassava peel 0.029 and cassava pulp 0.026 hr, P<0.01), In vitro dry matter digestibility (IVDMD) and in vitro organic matter digestibility (IVOMD) at 12 hr post incubation were not significantly different (p>0.05), but IVDMD and IVOMD at 24 hr post incubation were significantly different among treatments (IVDMD of cassava chip 50.20, com meal 37.25, cassava peel 42.50 and cassava pulp 42.74 ^, and IVOMD 52.25, 38.80, 44.45 and 44.20 # respectively; P<0.01). In experiment II, a study was conducted with four 1.5 year-old crossbred Brahman cattle with an average ๒itiฟ body weight of 160.4 ± 9.3 kg according to 4x4 Latin square design. The animals were randomized to received one of 4 dietary treatments (cassava chip, com meal, cassava peel and cassava pulp, 50 <¥o of each in concentrate) and fed ad libitum of rice straw as roughage source. It was shown that voluntary feed intake of dry matter and metabolic weight of animal offered ration containing cassava pulp was higher than the ration containing cassava chip (p<0.05). However, nutrients digestibility, ruminal fermentation end-products, blood metabolites, rate of passage, and average daily gain were not significantly different (p>0.05). It is, therefore, concluded that rate of gas production differed between energy feed sources. Cassava starch industry by-product can be fed as energy feed source in beef cattle.

Downloads

Published

2015-03-03

Issue

Section

วิทยาศาสตร์ชีวภาพ