Daily Carbon Assimilation in Difference Four Growth Stage of Rice ΄Phitsanulok 2΄(อัตราการดูดซับคาร์บอนในความแตกต่างที่สี่ระยะของการเจริญเติบโตรอบวัน ของข้าวพันธุ์พิษณุโลก 2)

Authors

  • Thawisaeng Phunphut (ทวีแสง พูลพุฒ) Graduate School, Khon Kaen University
  • Dr.Savent Pempasit (ดร.เสวียน เปรมประสิทธิ์)
  • Dr.Charoon Sarin (ดร.จรูญ สารินทร์)
  • Dr.Chanin Umponstira (ดร.ชนินทร์ อัมพรสถิร)
  • Dr.Jessada Phattaralerphong (ดร.เจษฎา ภัทรเลอพงศ์)

Keywords:

Rice (ข้าว), Carbon assimilation (การดูดซับคาร์บอน), CO2 exchange (การแลกเปลี่ยนคาร์บอนไดออกไซด์)

Abstract

The canopy CO2 exchange of the rice ΄Phitsanulok 2΄ was measured in 4 different growth stages, 30, 60, 90 and 105 DAP (i.e. seedling, tillering, flowering and grain filling). They were planted individual clump in the cement pot. Canopy CO2 exchange was measured with an open system. The chamber was made by transparent polyethylene bag to cover the whole rice canopy and light can pass. The CO2 exchange was calculated from air flow rate, the different between CO2 concentrations before and exit the chamber. Climatic data (PPFD, air temperature and humidity) and total leaf area were also recorded by data logger. The result found that all the different stages of growth has shown the diurnal pattern in CO2 exchange which may be divided into 5 periods include morning, before noon, afternoon, evening and nighttime, according change in response.  All growth stages show saturated response to PPFD but different in light compensation point and light saturated point. The difference in CO2 assimilation was found between stages. The CO2 assimilation was positive at daytime and negative at nighttime. The net daily CO2 assimilation were 76.83, 495.97, 276.37 and 122.7 µmol clump-1 day-1 for 30, 60, 90 and 105 DAP, respectively which equivalent to carbon assimilation 0.92, 5.96, 3.32 and 1.35 g C clump-1 day-1. The relationship between total leaf area and the net C assimilation was found. The net C assimilation increased with increasing in total leaf area.

 

การแลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ของเรือนพุ่มข้าวพันธุ์พิษณุโลก 2 วัดจากการเจริญเติบโตของข้าวใน 4 ระยะที่แตกต่างกัน คือ ที่ระยะ 30, 60, 90 และ 105 วันของภายหลังการปลูก (นั่นคือ ระยะต้นกล้า, ระยะแตกกอ, ระยะตั้งท้อง, ระยะสุกแก่) โดยจะนำข้าวมาปลูกเป็นกอในวงบ่อซีเมนต์ วัดการแลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ของเรือนพุ่มด้วยระบบเปิด โดยห้องควบคุมอากาศ (chamber) สร้างด้วยถุงพลาสติกชนิดโปร่งใสเพื่อให้ครอบคลุมเรือนพุ่มของข้าวได้ทั้งหมดและแสงสามารถผ่านได้ การแลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) สามารถคำนวณได้จากอัตราการไหลของอากาศที่แตกต่างกันระหว่างความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เข้าและออกจากเรือนพุ่มของข้าวได้ทั้งหมดและแสงสามารถผ่านได้ การแลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) สามารถคำนวณได้จากอัตราการไหลของอากาศที่แตกต่างกันระหว่างความเข้มข้นของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เข้าและออกจากห้องควบคุมอากาศ (chamber) ข้อมูลภูมิอากาศ (ความหนาแน่นของของเหลวโปรตอนสังเคราะห์ (PPFD.) อุณหภูมิอากาศและความชื้น) และพื้นที่ใบรวมถูกบันทึกไว้โดยเครื่องบันทึกข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า ทุกระยะของการเจริญเติบโต ได้แสดงให้เห็นรูปแบบของเวลารายวันในการแลกเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ซึ่งอาจจะแบ่งออกเป็น 5 เวลา ได้แก่ เช้า ก่อนเที่ยง บ่าย เย็นและกลางคืน) ตามการเปลี่ยนแปลงในการตอบสนอง ทุกระยะการเจริญเติบโตแสดงการตอบสนองที่อิ่มตัวของความหนาแน่นของของเหลวโปรตอนสังเคราะห์ (PPFD.) แต่ความแตกต่างกันในประเด็นจุดชดเชยแสงและจุดอิ่มตัวของแสง ความแตกต่างในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ถูกพบระหว่างระยะ ดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) เป็นบวกในเวลากลางวันและลบในเวลากลางคืน การดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) สุทธิในแต่ละวันคือ 76.83, 495.97, 276.37 และ 122.7 µmol clump-1 day-1 สำหรับ 30, 60, 90 และ 105 วันของการปลูกตามลำดับ ซึ่งเท่ากับข้าวสามารถดูดซับคาร์บอนได้ 0.92, 5.96, 3.32 และ 1.35 g C clump-1 day-1. ความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใบรวมและการดูดซับคาร์บอนสุทธิพบว่า การดูดซับคาร์บอนสุทธิเพิ่มขึ้นด้วยการเพิ่มขึ้นของพื้นที่ใบรวม

Downloads

Additional Files

Published

2017-09-14

Issue

Section

บทความวิจัย