@article{พิพัฒน์อนุกูล_แสงประสาน_แกะทาคำ_บุญชาญ_2022, title={ตัวแบบอนุกรมเวลาของปริมาณน้ำฝนรายเดือนในจังหวัดขอนแก่น}, volume={7}, url={https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/sciencenrrujournal/article/view/245113}, abstractNote={<p>การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างตัวแบบอนุกรมเวลาของปริมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ยรายเดือนในจังหวัดขอนแก่น ด้วยวิธีวิเคราะห์อนุกรมเวลาแบบบอกซ์-เจนกินส์ ใช้ข้อมูลปริมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ยรายเดือน ตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ. 2557 ถึงเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2562  รวมทั้งสิ้น 72 คาบเวลา จากศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน แบ่งข้อมูลออกเป็นส่วน ได้แก่ ข้อมูลชุดที่ 1 คือ ข้อมูลปริมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ยรายเดือน ตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ. 2557 ถึงเดือน ธันวาคม พ.ศ. 5261 รวมทั้งสิ้น 60 คาบเวลา เพื่อสร้างตัวแบบอนุกรมเวลา ข้อมูลชุดที่ 2 คือข้อมูลปริมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ยรายเดือน ตั้งแต่เดือน มกราคม พ.ศ. 2562 ถึงเดือน ธันวาคม พ.ศ.2562 รวมทั้งสิ้น 12 คาบเวลา เพื่อใช้ทดสอบความแม่นยำของตัวแบบอนุกรมเวลาของปริมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ยรายเดือน ด้วยเกณฑ์รากที่สองของความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ย (Root Mean Squared Error: RMSE) ต่ำสุด ผลการศึกษาพบว่า ตัวแบบ ARIMA(1,1,0)(1,1,0)12   เมื่อไม่มีค่าคงที่ เป็นตัวแบบที่มีความเหมาะสมในการพยากรณ์ปริมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ยรายเดือนในจังหวัดขอนแก่น</p>}, number={1}, journal={วารสารวิจัย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา}, author={พิพัฒน์อนุกูล ฑิพรัตน์ and แสงประสาน ชนัญกาญจน์ and แกะทาคำ จันทร์จิรา and บุญชาญ กนกวรรณ}, year={2022}, month={พ.ค.}, pages={31–38} }