การวิเคราะห์การประมาณช่องสัญญาณด้วยวิธีกาลังสองน้อยที่สุดแบบถ่วงน้าหนักในการส่งข้อมูล เพื่อเชื่อมโยงย้อนหลังสาหรับสาหรับระบบมัลติยูสเซอร์ไมโม

Main Article Content

Suchada Sitjongsataporn
สัมพันธ์ พรหมพิชัย

บทคัดย่อ

บทความนี้นาเสนอการวิเคราะห์การประมาณช่องสัญญาณด้วยวิธีกาลังสองน้อยที่สุดแบบถ่วงน้าหนักสาหรับการส่งข้อมูลเพื่อเชื่อมโยงย้อนหลังในระบบมัลติยูสเซอร์ไมโม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทาการประมาณช่องสัญญาณโดยประมาณให้มีค่าใกล้เคียงกับช่องสัญญาณจริง สาหรับป้องกันการเกิดข้อผิดพลาดของสัญญาณที่ฝั่งรับ ในขณะส่งข้อมูลอาจมีการรบกวนสัญญาณได้ จึงมีการนาวิธีกาลังสองน้อยที่สุดแบบถ่วงน้าหนัก ซึ่งเป็นวิธีการประมาณช่องสัญญาณเพื่อชดเชยผลของสัญญาณที่เกิดความผิดเพี้ยนจากเดิมและป้องกันผลกระทบจากสัญญาณรบกวน ผลการจาลองการทางาน พบว่าค่าที่ได้จากวิธีกาลังสองน้อยที่สุดแบบถ่วงน้าหนักสาหรับประมาณช่องสัญญาณในการส่งข้อมูลเพื่อเชื่อมโยงย้อนหลังมีค่าสูงกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการประมาณค่าด้วยวิธีกาลังสองน้อยที่สุดแบบดั้งเดิม

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

C.E. Hossain, M. Hasan, “5G cellular: Key enabling technologies and research challenges”, IEEE Instrumentation and Measurement Magazine, vol. 18, no. 3, pp. 11–21, Jun. 2015.

Y.S. Cho, J.W. Kim, W.Y. Yang, C. Kang, “MIMO-OFDM Wireless Communications with Matlab”, John Wiley & Sons, 2010.

V. Saxena, “Pilot Contamination and Mitigation Techniques in Massive MIMO Systems”, Department of Electrical and Information Technology, LTH , 2014.

สัมพันธ์ พรหมพิชัย, “หลักการสื่อสารข้อมูลยุคใหม่”, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมาหานคร, 296หน้า.

C. Park, J. Chang, “Time-of-arrival source localization based on weighted least squares estimator in line-of-sight/non-line-of-sight mixture environments”, International Journal of Distributed Sensor Networks, vol. 12, no. 12, pp. 1-13, 2016

G. Y. Lu, A. Li, L. Swindlehurst, A. Ashikhmin, and R. Zhang, “An overview of massive MIMO: Benefits and challenges”, IEEE Journal Selected Topics Signal Processing, vol. 8, no. 5, pp. 742–758, Oct. 2014.

O. Elijah, C. Y. Leow, T. A. Rahman, S. Nunoo, S. Z. Iliya, “A Comprehensive Survey Of Pilot Contamination In Massive MIMO”, IEEE Communications Surveys & Tutorials, vol. 18, no. 2, 2016.

วรวุฒิ ฉิมพัด, สุชาดา สิทธิ์จงสถาพร และ สัมพันธ์ พรหมพิชัย, “การประมาณช่องสัญญาณด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุดแบบถ่วงน้ำหนักสำหรับระบบไมโม”, EECON 42, 30 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน 2562, หน้า 285-288.

“Multi-user MIMO”, https://en.wikipedia.org/wiki/Multi-user_MIMO สืบค้นเมื่อ 15 พ.ค. 2564.

M. Ali, M. MOQBE, L. Wangdong, Al-marhabi Z. Ali, “MIMO Channel Estimation Using the LS and MMSE Algorithm”, IOSR Journal of Electronics and Communication Engineering, Vol. 12, Jan.-Feb. 2017.

R. Amiri, F. Behnia, “An Efficient Weighted Least Squares Estimator for Elliptic Localization in Distributed MIMO Radars”, IEEE Signal Processing Letter, vol. 24, no. 6, pp. 902-906, 2017.

วรวุฒิ ฉิมพัด, สุชาดา สิทธิ์จงสถาพร และ สัมพันธ์ พรหมพิชัย, “การประมาณช่องสัญญาณด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุดแบบถ่วงน้ำหนักในการส่งข้อมูลเพื่อเชื่อมโยงย้อนหลังสำหรับระบบมัลติยูสเซอร์ไมโม”, EECON 42, 30 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน 2562, หน้า 325-328.