โกฐกระดูก (Aucklandia lappa DC.) และหัวกระทือ (Zingiber zerumbet L. Roscoe ex sm.) สมุนไพรที่ใช้แทนกันได้ตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทย
คำสำคัญ:
โกฐกระดูก, หัวกระทือ, สมุนไพรใช้แทนกันบทคัดย่อ
ตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทยระบุว่าสมุนไพรหลายชนิดสามารถนำมาใช้แทนกันได้ ซึ่งส่วนใหญ่มักพิจารณาจากรสชาดและสรรพคุณที่ใกล้เคียงกัน โกฐกระดูก (Aucklandia lappa DC.) และหัวกระทือ (Zingiber zerumbet L. Roscoe ex sm.) ถูกระบุว่าเป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณเสมอกัน สามารถนำมาใช้แทนกันได้ บทความนี้มุ่งนำเสนอการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของโกฐกระดูกและหัวกระทือ ผลการศึกษาพบว่า โกฐกระดูกและหัวกระทือมีองค์ประกอบทางเคมีที่เป็นสารในกลุ่มน้ำมันหอมระเหย (Essential oil) และสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ (Flavonoid) โดยมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่คล้ายคลึงกันในการต้านการอักเสบ ต้านอนุมูลอิสระ และต้านมะเร็ง ประกอบกับสรรพคุณที่ระบุไว้ในตำรายาโบราณซึ่งมักใช้โกฐกระดูกและหัวกระทือเพื่อรักษาอาการปวดเบ่ง ปวดมวนในท้อง และแก้บิด จากข้อมูลดังกล่าวจึงสามารถอธิบายแนวคิดของแพทย์แผนโบราณที่กล่าวว่าโกฐกระดูกมีสรรพคุณเสมอกันกับหัวกระทือได้ แต่อย่างไรก็ตามควรมีการทดสอบทางห้องปฏิบัติการเพื่อเปรียบเทียบองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาของสมุนไพรทั้งสองชนิดเพิ่มเติม เพื่อเป็นข้อมูลสนับสนุนการใช้แทนกันได้ของสมุนไพรทั้งสองชนิดนี้ต่อไป
References
คณะอนุกรรมการจัดทำตำราอ้างอิงยาสมุนไพรไทย. (2559). ตำราอ้างอิงยาสมุนไพรไทย โกฐกระดูก. วารสารการแพทย์แผนไทย และแพทย์ทางเลือก. ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 (3 กันยายน-ธันวาคม 2559), 335-337.
จันคนา บูรณะโอสถ, ปนัดดา พัฒนวศิน, ภัทราวดี เหลืองธุวปราณีต, ปกรณ์ คามวุฒิ และอุทัย โสธนะพันธุ์. (2559). การวิเคราะห์หาองค์ประกอบของสารหอมระเหยจากเครื่องยาในพิกัดเนาวโกศด้วยวิธีโครมาโทกราฟีแบบแก๊สแมสสเปกโทรเมทรี.วารสารไทยไภษัชยนิพนธ์. 11(2) .คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ชยันต์ พิเชียรสุนทร, ศุภชัย ติยวรนันท์ และวิเชียร จีรวงส์. (2555). คู่มือเภสัชกรรมไทยเล่ม 6. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อมรินทร์.
ชยันต์ พิเชียรสุนทร,แม้นมาส ชวลิต และวิเชียร จีรวงศ์. (2558). คำอธิบายตำราพระโอสถพระนารายณ์ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชา 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2542. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์ พับลิชชิ่ง.
ณัทธีราส มารักษ์ และนิสาชล เทศศรี. (2562). การพัฒนาพืชสมุนไพรท้องถิ่นในจังหวัดจันทบุรีเพื่อยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรคที่สำคัญในพืช. คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
นิทเทส (ถมรัตน์) พุ่มชูศรี. (2516). อายุรเวทศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
พีศรี พุ่มชูศรี. รุจินาถ อรรถสิษฐ, ลักขณา เติมศิริกุลชัย และอาทร ริ้วไพรบูลย์. (2530). สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานสำหรับบุคลากรสาธารณสุข. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานครฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคาระห์ทหารผ่านศึก.
สมศักดิ์ นวลแก้ว. (2563). เภสัชกรรมแผนไทยประยุกต์ Applied Thai Traditional Pharmacy. มหาสารคาม: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Abdelwahab, S. I., Taha, M. M. E., Alhazmi, H. A., Ahsan, W., Rehman, Z. U., Bratty, M. A., & Makeen, H. (2019). Phytochemical profiling of costus (Saussurea lappa Clarke) root essential oil, and its antimicrobial and toxicological effects. Trop. J. Pharm. Res, 18, 2155-2160.
Alaagib, R. M. O., & Ayoub, S. M. H. (2015). On the chemical composition and antibacterial activity of Saussurea lappa (Asteraceae). The Pharma Innovation, 4(2, Part C), 73.
Ansari, S. (2019). Ethnobotany and Pharmacognosy of Qust/Kut (Saussurea lappa, CB Clarke) with Special Reference of Unani Medicine. Pharmacognosy Reviews, 13(26), 71.
Bhuiyan, M. N. I., Chowdhury, J. U., & Begum, J. (2009). Chemical investigation of the leaf and rhizome essential oils of Zingiber zerumbet (L.) Smith from Bangladesh. Bangladesh Journal of Pharmacology, 4(1), 9-12.
Choi, E. M., Kim, G. H., & Lee, Y. S. (2009). Protective effects of dehydrocostus lactone against hydrogen peroxide-induced dysfunction and oxidative stress in osteoblastic MC3T3-E1 cells. Toxicology in vitro, 23(5), 862-867.
Department of Medical Sciences, Ministry of Public Health. Thai Herbal Pharmacopoeia 2019. Volume II. Bangkok: The Agricultural Co-operative Federation of Thailand.,Ltd; 2019. Monograph (KRATHUE) Zingiber zerumbet L. Roscoe ex sm.
Ansari, S. (2019). Ethnobotany and Pharmacognosy of Qust/Kut (Saussurea lappa, CB Clarke) with Special Reference of Unani Medicine. Pharmacognosy Reviews, 13(26), 71.
Gautam, H., & Asrani, R. (2018). Phytochemical and Pharmacological Review of an Ethno Medicinal Plant: Saussurea Lappa. Veterinary Research, 6(01).
Girisa, S., Shabnam, B., Monisha, J., Fan, L., Halim, C. E., Arfuso, F., & Kunnumakkara, A. B. (2019). Potential of zerumbone as an anti-cancer agent. Molecules, 24(4), 734.
Jang, D. S., Han, A. R., Park, G., Jhon, G. J., & Seo, E. K. (2004). Flavonoids and aromatic compounds from the rhizomes of Zingiber zerumbet. Archives of Pharmacal Research, 27(4), 386-389.
Kadhem, M. A., & Kadhum, S. A. (2019). Protective Effect of Ethanolic Extract of Saussurea Lappa on Paracetamol Induced Toxicity in Female Rabbits. In Journal of Physics: Conference Series (Vol. 1294, No. 6, p. 062043). IOP Publishing.
Kim, E. J., Hong, J. E., Lim, S. S., Kwon, G. T., Kim, J., Kim, J. S., ... & Park, J. H. Y. (2012). The hexane extract of Saussurea lappa and its active principle, dehydrocostus lactone, inhibit prostate cancer cell migration. Journal of medicinal food, 15(1), 24-32.
Lee, H. J., Kim, N. Y., Jang, M. K., Son, H. J., Kim, K. M., Sohn, D. H. & Ryu, J. H. (1999).A sesquiterpene, dehydrocostus lactone, inhibits the expression of inducible nitric oxide synthase and TNF-α in LPS-activated macrophages. Planta medica, 65(02), 104-108.
Liu, Z.L., He, Q., Chu, S. S., Wang, C. F., Du, S. S., & Deng, Z. W. (2012). Essential oil composition and larvicidal activity of Saussurea lappa roots against the mosquito Aedes albopictus (Diptera: Culicidae). Parasitology research, 110(6), 2125-2130.
Minhas, S. A., Khan, F. M., Abbas, F. I., & Faiz, A. U. H. (2017). Phytochemical Screening and Determination of Antibacterial, Anti-Tumorigenic and DNA Protection Ability of Root Extracts of Saussurea Lappa. Journal of Bioresource Management, 4(4), 1.
Muhtadi, M., Suhendi, A., & Sutrisna, E. M. (2019). The potential antidiabetic and anti-inflammatory activity of Zingiber zerumbet ethanolic extracts and Channa striata powder on albino Wistar mice. Drug Invention Today, 12(1).
Rana, V. S., Ahluwalia, V., Shakil, N. A., & Prasad, L. (2017). Essential oil composition, antifungal, and seedling growth inhibitory effects of zerumbone from Zingiber zerumbet Smith. Journal of essential oil research, 29(4), 320-329.
Sadik, I., Abd Allah, A., Abdulhameed, M., Abdelkader, M., Sayed, N., Nour, A., & Tom, A. A. (2017). Antioxidant activity and in-vitro potential inhibition of Nigella sativa and Saussurea lappa against LDL oxidation among sundance. E3 Journal of Medical Research, 6(3), 022-026.
Somchit, M. N., Mak, J. H., Bustamam, A. A., Zuraini, A., Arifah, A. K., Adam, Y., & Zakaria, Z. A. (2012). Zerumbone isolated from Zingiber zerumbet inhibits inflammation and pain in rats. Journal of Medicinal Plants Research, 6(2), 177-180.
Sreevani, N., Hafeeza, K., Sulochanamma, G., Pura Naik, J., & Madhava Naidu, M. (2013). Studies on antioxidant activity of Zingiber zerumbet spent and its constituents through in vitro models. Wudpecker Journal of Food Technology, 1(3), 48-55.
Wahab, A., Khera, R. A., Rehman, R., Mushtaq, A., Azeem, M. W., & Rezgui, M. (2017). Kuth (Saussurea lappa L.) : A review of its traditional uses, phytochemistry and pharmacological potentials.
Wei, H., Yan, L. H., Feng, W. H., Ma, G. X., Peng, Y., Wang, Z. M., & Xiao, P. G. (2014). Research progress on active ingredients and pharmacologic properties of Saussurea lappa. studies, 43, 48.
Yoshikawa, M., Hatakeyama, S., Inoue, Y., & yamahara, J. (1993). Saussureamines A, B, C, D, and E, new anti- ulcer principles from Chinese Saussureae Radix. Chemical and pharmaceutical Bulletin, 41(1), 214-216.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของคณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว