การตรวจจับความคลาดเคลือนสีอัตโนมัติโดยใช้คุณสมบัติเฉพาะที

ผู้แต่ง

  • ณัฐชัย งามเสงี่ยม
  • สุวัจชัย กมลสันติโรจน์
  • สรร รัตนสัญญา

คำสำคัญ:

ความคลาดเคลือนสี, ค่าขีดแบ่งแบบเฉพาะที, การค้นหาความคลาดเคลื่อนสี, ขอบสี

บทคัดย่อ

ความคลาดเคลือนสีหรือความผิดเพีย. นสี (Chromatic Aberration) เกิดจากการหักเหของแสงจำนวนมากทีผ ่าน
เลนส์ (Lens) ไปตกกระทบบนเซ็นเซอร์ (Sensor) รับภาพในกล้องผิดจากทีค วรจะเป็น ทำให้เกิดสีเพีย. นขึน. ภายในภาพ
ส่งผลให้คุณภาพของภาพลดลง และยังมีผลทางด้านจิตใจอีกด้วย ความคลาดเคลือนสีนี. ตรวจจับแบบอัตโนมัติได้ยาก
เนืองจากความยากในการระบุแสงสีและจุดทีต กกระทบเลนส์ทำให้ไม่สามารถระบุจุดทีเ กิดความผิดพลาดได้ งานวิจัยนี.
นำเสนอวิธีการตรวจจับความคลาดเคลือนสีแบบอัตโนมัติ ซึงไม่เคยมีมาก่อนในงานวิจัยอืนๆทีผ่านมา บริเวณทีเกิด
ความคลาดเคลือนสีถูกตรวจจับได้โดยนำเส้นขอบมาใช้ร่วมกับคุณสมบัติเฉพาะที เช่น ค่าคอนทราสต์ (Contrast) และ
ค่าขีดแบ่ง (Threshold) เพือให้ได้บริเวณทีเ กิดขึน. จริงในแต่ละส่วนของภาพ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าวิธีทีน ำเสนอ
สามารถแยกแยะบริเวณทีเ กิดความคลาดเคลือนสีขึน. จริงและบริเวณทีม ีสีจริงในธรรมชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทัง.
ยังมีความถูกต้องในการตรวจจับบริเวณทีเ กิดความคลาดเคลือนสีขึน. จริงได้ร้อยละ @B."" โดยเฉลีย

Author Biographies

ณัฐชัย งามเสงี่ยม

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

สุวัจชัย กมลสันติโรจน์

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

สรร รัตนสัญญา

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

References

Arbelae, P., Fowlkes, C., & Martin, D. (2007). The Berkeley Segmentation Dataset and Benchmark
[Data file]. Retrieved from http://www.eecs.berkeley.edu/Research/Projects/CS/vision/bsds/BSDS300-images.tgz

Chung, S. W., Kim, B. K., & Song, W. J. (2010). Removing chromatic aberration by digital image processing. Optical Engineering, 46. doi: 10.1117/1.3455506

Gonzalez, R. C., Woods, R. E., & Eddins, S. L. (n.d.). Standard test images [Data file]. Retrieved from
http://www.imageprocessingplace.com/downloads_V3/root_downloads/image_databases/
standard_test_images.zip

Ju, H. J., & Park, R. H. (2013). Colour fringe detection and correction in YCbCr colour space. IET Image
Process 2013, 7, 300-309.

Ju, H. J., Lee,D. K., & Park, R. H. (2012). Chromatic Aberration Removal in Narrow Color Regions of
Digital Images. Paper presented at IEEE International Conference on Consumer Electronics 2012 (ICCE 2012), Nevada , USA.

Kang, S. B. (2009). U.S. Patent No. 7,577,292. Washington, DC: U.S. Patent and Trademark Office.

Kim, B. K., & Park, R. H. (2008). Automatic detection and correction of purple fringing using
the gradient information and desaturation. Paper presented at Proceedings of the 16th European Signal Processing Conference 2008, Lausanne, Switzerland.

Kim, B. K., & Park, R. H. (2012). Detection and correction of purple fringing using color desaturation in the xy chromaticity diagram and the gradient information. Image and Vision Computing, 28, 303–306.

Mouroulis, P., & Macdonald, J. (1997). Geometrical Optics and Optical Design. London, U.K.: Oxford
University Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-12-31

How to Cite

งามเสงี่ยม ณ., กมลสันติโรจน์ ส., & รัตนสัญญา ส. (2016). การตรวจจับความคลาดเคลือนสีอัตโนมัติโดยใช้คุณสมบัติเฉพาะที. วารสารสถิติประยุกต์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, 1(2), 1–16. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/asit-journal/article/view/164757