The Relationships between Human Capital, Economic Indicators and Life Expectancy at Birth and Infant Mortality Rate

Authors

  • อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์
  • เดือนเพ็ญ ธีรวรรณวิวัฒน์
  • สัญชัย คุ้มชะนะ
  • ลิขิต สิทธิขวา

Keywords:

อายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด, อัตรามรณะของทารก, ตัวชี้วัดด้านทุนมนุษย์, ตัวชี้วัดด้านเศรษฐกิจ

Abstract

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้วัดด้านทุนมนุษย์และเศรษฐกิจกับอายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด(e0) และอัตรามรณะของทารก(q0) ของประชากรหญิงและชาย โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิของ 183 ประเทศ จากฐานข้อมูลขององค์การอนามัยโลกและธนาคารโลก ผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบลําดับขั้น (Hierarchical Multiple Regression Analysis) พบว่าตัวชี้วัดด้านเศรษฐกิจมีความสามารถในการทำนายอายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดกับอัตรามรณะของทารกได้สูงกว่ากลุ่มตัวชี้วัดด้านทุนมุนษย์ เพราะการพัฒนาทางเศรษฐกิจทำให้ประเทศมีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีมากขึ้นโดยเฉพาะประเทศที่พัฒนาแล้ว จะสังเกตได้ว่าประเทศที่พัฒนาแล้วหรือประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจจะมีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีและการแพทย์ ทำให้รัฐบาลสามารถพัฒนาทางด้านสาธารณสุขและโรงพยาบาลได้อย่างทั่วถึง มีระบบสวัสดิการทางสังคมที่ดีส่งผลให้ประชาชนมีมาตรฐานชีวิตที่ดีกว่า และการพัฒนาให้คนมีอายุยืนมากขึ้นควรจะพัฒนาด้านเศรษกิจเป็นลำดับแรกแล้วพัฒนาด้านทุนมนุษย์เป็นลำดับต่อมา

Author Biographies

อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์

สาขาวิทยาการประกันภัยและการบริหารความเสี่ยง สาขาประชากรกับการพัฒนา คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

เดือนเพ็ญ ธีรวรรณวิวัฒน์

สาขาวิทยาการประกันภัยและการบริหารความเสี่ยง สาขาประชากรกับการพัฒนา คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

สัญชัย คุ้มชะนะ

สาขาวิทยาการประกันภัยและการบริหารความเสี่ยง สาขาประชากรกับการพัฒนา คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ลิขิต สิทธิขวา

สาขาวิทยาการประกันภัยและการบริหารความเสี่ยง สาขาประชากรกับการพัฒนา คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

References

Aiken, L. S., West, S. G., & Reno, R. R. (1991). Multiple regression: Testing and interpreting interactions: Sage.

Biciunaite, A. (2014). Economic Growth and Life Expectancy–Do Wealthier Countries Live Longer. Euromonitor International. Available online at http://blog.euromonitor.com/2014/03/economic-growth-and-life-expectancy-do-wealthiercountries-live-longer.html.

Chen, M., & Ching, M. (2000). A statistical analysis of life expectancy across countries using multiple regression. Sys 302 Project.(2000.12.18.)

Chetty, R., Stepner, M., Abraham, S., Lin, S., Scuderi, B., Turner, N., . . . Cutler, D. (2016). The Association Between Income and Life Expectancy in the United States, 2001-2014. JAMA, 315(16), 1750-1766. doi: 10.1001/jama.2016.4226

Cohen, J., Cohen, P., West, S. G., & Aiken, L. S. (2013). Applied multiple regression/correlation analysis for the behavioral sciences (3 ed.): Routledge.

De Vogli, R., Mistry, R., Gnesotto, R., & Cornia, G. A. (2005). Has the relation between income inequality and life expectancy disappeared? Evidence from Italy and top industrialised countries. Journal of epidemiology and community health, 59(2), 158-162.

Deseret News. (2013). Study shows link between life expectancy and education. from http://www.deseretnews.com/article/865581478/Study-shows-link-between-life-expectancy-and-education.html

Fischetti, M. (2011). Female Education Reduces Infant and Childhood Deaths. from https://www.scientificamerican.com/article/graphic-science-female-education-reduces-infant-childhood-deaths/

Hanewald, K. (2009). Mortality modeling: Lee-Carter and the macroeconomy. SFB Discussion.

Krueger, P. M., Tran, M. K., Hummer, R. A., & Chang, V. W. (2015). Mortality attributable to low levels of education in the United States. PloS one, 10(7), e0131809.

Schultz, T. W. (1961). Investment in human capital. The American economic review, 1-17.

World Health Organization(WHO). (2016). Global Health Observatory (GHO) data. from http://www.who.int/gho/mortality_burden_disease/life_tables/situation_trends_text/en/

ณฐมนต์ ปัญจวีณิน. (2552). ปรัชญาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้เกิดประสิทธิภาพ. Retrieved from https://www.gotoknow.org/posts/268835

บุญคง หันจางสิทธิ์. (2550). เศรษฐศาสตร์มหภาค. กรุงเทพฯ: โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์.

ประชาชาติธุรกิจออนไลน์. (2558). จัดอันดับทุนมนุษย์ from http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1433221786

ปราโมทย์ ประสาทกุล และ ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์. (2544). ตารางชีพ : เครื่องมือสำคัญทางประชากรศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ(สสส.). (2552). ชี้เด็กแรกเกิดตาย 1 คนทุกๆ 15 วิ. from http://www.thaihealth.or.th/partnership/Content/5377-%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A2%201%20%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B9%86%2015%20%E0%B8%A7%E0%B8%B4.html

สุชาติ ธาดาธำรงเวช. (2549). ทฤษฎีหลักว่าด้วยการบริหารนโยบายเศรษฐกิจ: The general theory of macroeconomic policy management. กรุงเทพฯ: มิ่งมิตร.

Downloads

Published

2017-06-30

How to Cite

ศักดิ์วรวิชญ์ อ., ธีรวรรณวิวัฒน์ เ., คุ้มชะนะ ส., & สิทธิขวา ล. (2017). The Relationships between Human Capital, Economic Indicators and Life Expectancy at Birth and Infant Mortality Rate. Journal of Applied Statistics and Information Technology, 2(1), 74–86. retrieved from https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/asit-journal/article/view/164919