Factors Affecting Intention to Purchase Health Insurance Among Taxi Drivers in Bangkok Metropolitan Areas

Authors

  • ประภัสสร อนิวรรตวงศ์
  • เดือนเพ็ญ ธีรวรรณวิวัฒน์

Keywords:

ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน, ประกันสุขภาพ, คนขับรถแท็กซี่

Abstract

งานวิจัยนี้นำทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนของ Fishbein และ Ajzen มาประยุกต์ใช้ เพื่อศึกษาอิทธิพลทั้งทางตรงและทางอ้อมของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อความตั้งใจซื้อประกันสุขภาพของคนขับรถแท็กซี่ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ผู้วิจัยได้ทำการปรับทฤษฎีเพื่อให้เหมาะสมกับบริบทของการศึกษา โดยเพิ่มทัศนคติที่มีต่อการบริการสาธารณสุขที่สะท้อนให้เห็นถึงการรับรู้ความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในกรณีที่เจ็บป่วยต้องเข้ารับการรักษาพยาบาลเข้าไปในตัวแบบด้วย จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลคนขับรถแท็กซี่ที่เป็นตัวอย่างจำนวน 398 คน ซึ่งผู้วิจัยทำการสำรวจ โดยมีแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล พบว่า ประมาณร้อยละ 90 ของคนขับรถแท็กซี่เห็นด้วยในระดับปานกลางถึงเห็นด้วยอย่างยิ่งว่า การประกอบอาชีพขับรถแท็กซี่มีความจำเป็นที่จะต้องมีประกันสุขภาพ และประมาณร้อยละ 60 ของคนขับรถแท็กซี่เห็นด้วยในระดับปานกลางถึงเห็นด้วยอย่างยิ่งกับข้อความว่า “ภายใน 3 เดือนข้างหน้า มีความตั้งใจจะซื้อประกันสุขภาพกับบริษัทประกันภัยให้ตนเอง” และช่องทางที่ต้องการซื้อประกันสุขภาพ คือ ผ่านทางตัวแทนบริษัทประกันภัย ส่วนผลการวิเคราะห์เส้นทาง ชี้ให้เห็นว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลโดยรวมต่อความตั้งใจซื้อประกันสุขภาพ คือ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง โดยเกือบร้อยละ 80 เป็นอิทธิพลทางตรง

Author Biographies

ประภัสสร อนิวรรตวงศ์

คณะสถิติประยุกต์ สาขาวิชาเอกวิทยาการประกันภัยและการบริหารความเสี่ยง สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

เดือนเพ็ญ ธีรวรรณวิวัฒน์

คณะสถิติประยุกต์ สาขาวิชาเอกวิทยาการประกันภัยและการบริหารความเสี่ยง สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

References

Abadi, H. R. D., Ranjbarian, B., & Zade, F. K. (2012). Investigate the Customers' Behavioral Intention to Use Mobile Banking Based on TPB, TAM and Perceived Risk (A Case Study in Meli Bank). International Journal of Academic Research in Business and Social Sciences, 2(10), 312-322. Retrieved from http://www.hrmars.com/admin/pics/1194.pdf

B. A. Tannahill. (2013). The Role of Insurance in Retirement Planning. Journal Of Financial Service Professionals, 67(4), 32-35.

Bertea, P. E., & Zait, A. (2013). PERCEIVED RISK VS. INTENTION TO ADOPT E-COMMERCE - A PILOT STUDY OF POTENTIAL MODERATORS/ODNOS IZMEDU PERCIPIRANOG RIZIKA I NAMJERE USVAJANJA E-TRGOVANJA - PILOT STUDIJA POTENCIJALNIH MODERATORA. Trziste = Market, 25(2), 213-229. Retrieved from https://search.proquest.com/docview/1490467484?accountid=44809

Chang, Y., & Luo, J. (2010). The Impact Mechanism of Consumer Perceived Risk on Purchase Intention under the C2C Model. 2010 International Conference on Internet Technology and Applications (pp. 1-4). IEEE Conference Publications. Retrieved from http://ieeexplore.ieee.org/stamp/stamp.jsp?arnumber=5566156

Cristea, M.,, & Gheorghiu, A. (2016). Attitude, perceived behavioral control, and intention to adopt risky behaviors. Transportation Research Part F: Psychology And Behaviour, 43157-165. doi:10.1016/j.trf.2016.10.004

Festinger, L. (1950). Informal social communication. Psychological review, 57(5), 271.

Grab Thailand. (2559). Grab. เข้าถึงได้จาก Grab: https://www.grab.com/th/insurance/

Icek Ajzen. (2006). Icek Ajzen. Retrieved from Icek Ajzen: http://people.umass.edu/aizen/tpb.diag.html

J., Keller, Kyle, & Blackman, Shane F Cooper. (2016). The science of attitudes. New York: NY : Routledge. เรียกใช้เมื่อ 13 ตุลาคม 2559 จาก http://ils.nida.ac.th:8991/F/31UQM4HNEY3LD1T952TP4PQYVS1
HER8H54NY3GUX9H3I8YR7CF-00310?func=item-global&amp=&amp=&amp=&doc_
library=NDL01&local_base=NDL01&doc_number=000189541&pds_handle=GUEST

Nurul Aqila Hasbullah, Abdullah Osman, Safizal Abdullah, Shahrul Nizam Salahuddin, Nor Faizzah Ramlee, & Hazalina Mat Soha. (2016). The Relationship of Attitude, Subjective Norm and Website Usability on Consumer Intention to Purchase Online: An Evidence of Malaysian Youth. Procedia Economics and Finance, 35, pp. 493-502. doi:http://dx.doi.org/10.1016/S2212-5671(16)00061-7

Sangasubana, Nisaratana. (2003). Consumers' risk perceptions of over -the -counter drug products: Concept and measure using quantitative and qualitative methods (Order No. 3101428). ProQuest Dissertations & Theses Global. Retrieved December 15, 2559, from https://search.proquest.com/docview/305285132?accountid=44809

Schmiege, S. J., Bryan, A., & Klein, W. M. (2009). Distinctions between worry and perceived risk in the context of the theory of planned behavior. Journal of Applied Social Psychology, 39(1), 95-119. Retrieved from http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1111/j.1559-1816.2008.00431.x/full

Taro Yamane. (1967). Problems to Accompany Statistics: An Introduction Analysis (Vol. 2nd Ed.). New York: Harper and Row.

Xie, Q., Song, W., Peng, X., และ Shabbir, M. (2017). Predictors for e-government adoption: Integrating TAM, TPB, trust and perceived risk. The Electronic Library, 35(1), 2–20. doi:10.1108/el-08-2015-0141
Yi Jin Lim, Abdullah Osman, Shahrul Nizam Salahuddin, Abdul Rahim Romle, & Safizal Abdullah. (2016). Factors Influencing Online Shopping Behavior: The Mediating Role of Purchase Intention. Procedia Economics and Finance(35), pp. 401-410. doi:http://dx.doi.org/10.1016/S2212-5671(16)00050-2

กชพรรณ หนูชนะ, สรา อาภรณ์, เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์, และ สุรินธร กลัมพากร. (2557). ความเสี่ยงด้านสุขภาพในการทำงานของแรงงานนอกระบบในกรุงเทพมหานคร. โครงการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 15 (หน้า 1759). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. เรียกใช้เมื่อ 14 มกราคม 2560 จาก https://gsbooks.gs.kku.ac.th/57/grc15/files/mmp77.pdf

กรมการขนส่งทางบก. (31 ธันวาคม 2559). กลุ่มสถิติการขนส่ง กองแผนงาน กรมการขนส่งทางบก. เรียกใช้เมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2560 จาก กรมการขนส่งทางบก: http://www.news.mot.go.th/motc/portal/graph/index_dlt1.html
คณะกรรมการอำนวยการจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564) กระทรวงสาธารณสุข. (ตุลาคม 2559). สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. เข้าถึงได้จาก สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข: http://bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/healthplan12.pdf

ฐิตยาภรณ์ ธีรานุวรรตน์. (2553). การรับรู้ความเสี่ยง( Perceive Risk) และการรับรู้ถึงความเชื่อมั่นไว้วางใจ (Trust Perception)) ของผู้ใช้งานที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการใช้บริการ Location-Based Service). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. เข้าถึงได้จาก http://digi.library.tu.ac.th/thesis/ac/0945/title-appendices.pdf

ณัฐจรี สุวรรณภัฏ. (2545). “แท็กซี่” : กระบวนการเข้าสู่อาชีพและประสบการณ์ชีวิตประจำวัน. คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2555). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. กรุงเทพฯ: บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.

ประวิทย์ พิมพะสาร. (2555). การรับรู้ความเสี่ยงของลูกค้าต่อการใช้บริการธนาคารทางอินเทอร์เน็ต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. เข้าถึงได้จาก http://mslib.kku.ac.th/elib/multim/books/Economic2555/PRAWIT%20PIMPASARN/01_cov.pdf

พิเชฐ เจียรมณีทวีสิน (บ.ก.). (24 กุมภาพันธ์ 2557). นักคณิตศาสตร์ประกันภัย. เรียกใช้เมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2560 จาก Blogger.com: http://thaiactuary.blogspot.com/2014/02/blog-post_24.html

ภคพนธ์ ศาลาทอง, ดร.สมหมาย แจ่มกระจ่าง, และ ดร.รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์. (2556). การจัดสวัสดิการสังคมสำหรับกลุ่มคนขับรถแท็กซี่เขตกรุงเทพมหานคร. วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม(1), 80. เรียกใช้เมื่อ 16 พฤศจิกายน 2559 จาก http://digital_collect.lib.buu.ac.th/ojs/index.php/social/article/view/3154/580

ภัทรธิรา ผลงาม. (2544). ความพึงพอใจและความต้องการของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาต่อกระบวนการการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษาสถาบันราชภัฏเลย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 32.

ศิริประภา พรหมมา. (2554). สภาพปัญหาของแรงงานนอก. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สมาคมประกันวินาศภัยไทย. (2558). ประกันสุขภาพ: การประกันภัยสุขภาพคืออะไร. เข้าถึงได้จาก สมาคมประกันวินาศภัยไทย: https://www.tgia.org/insurance/health
สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.). (21 เมษายน 2559). สถิติธุรกิจประกันชีวิต รายเดือนของปี 2558 เทียบกับปี 2557: ธันวาคม. เข้าถึงได้จาก สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.): http://www.oic.or.th/th/consumer/non_life-december-58

สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.). (24 กุมภาพันธ์ 2559). สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.). เรียกใช้เมื่อ 12 ตุลาคม 2559 จาก http://www.oic.or.th: http://www.oic.or.th/th/consumer/news/releases/85130

สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.). (2559). สำหรับผู้บริโภค: การประกันสุขภาพ. เข้าถึงได้จาก สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.): http://www.oic.or.th/en/consumer/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.). (27 กันยายน 2559). ข้อมูลเศรษฐกิจและสังคม. เข้าถึงได้จาก สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.): https://www.m-society.go.th/article_attach/17783/19974.pdf

สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2559). ประชากรและเคหะ: แรงงานนอกระบบ ปี 2559. เรียกใช้เมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2560 จาก สำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.): http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/workerOutReport59.pdf

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.). (ม.ป.ป.). เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกันสุขภาพ. เข้าถึงได้จาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) National Health Security Office (NHSO): http://ebook.dreamnolimit.com/nhso/004/

สุวรรณา วิริยะประยูร. (2548). พฤติกรรมการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ตามแนวทฤษฎีพฤติกรรมตามแผน. เข้าถึงได้จาก www.mea.or.th/internet/hdd/hdd1.pdf

หมอชาวบ้าน. (มีนาคม 2559). เขียวเหลืองเรื่องแท็กซี่. นิตยสารหมอชาวบ้าน, 443. เรียกใช้เมื่อ 27 เมษายน 2560 จาก https://www.doctor.or.th/article/detail/400447

Downloads

Published

2017-06-30

How to Cite

อนิวรรตวงศ์ ป., & ธีรวรรณวิวัฒน์ เ. (2017). Factors Affecting Intention to Purchase Health Insurance Among Taxi Drivers in Bangkok Metropolitan Areas. Journal of Applied Statistics and Information Technology, 2(1), 114–135. retrieved from https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/asit-journal/article/view/164938