การเปรียบเทียบปัจจัยโรคประจำตัวผู้สูงอายุโดยใช้อัลกอริทึมการจัดกลุ่ม J48 และ NaiveBayes: กรณีศึกษาสาธารณสุขโพธิ์กลางนครราชสีมา

Main Article Content

เบญจภัค จงหมื่นไวย์

บทคัดย่อ

     การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเพื่อเปรียบเทียบปัจจัยข้อมูลผู้สูงอายุ (เพศ อายุ และโรคประจำตัว) ซึ่งโรคประจำตัวผู้สูงอายุสามารถจัดกลุ่มได้ ดังนี้ (โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคพาร์กินชั้นอุบัติเหตุหกล้ม เบาหวานและความดันโลหิตสูงวัณโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังตับอักเสบเรื้อรัง และโรคอื่น ๆ) เป็นต้น ดังนั้นผู้วิจัยได้นำข้อมูลจากการเก็บตัวอย่างได้กลุ่มตัวอย่าง 594 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลสอบถามข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญกลุ่มตัวอย่างมีอายุตั้งแต่ 60–90 ปี เฉลี่ย 72.03 ปี เป็นเพศหญิงร้อยละ 60.07 และเพศชายร้อยละ 39.93 ผู้สูงอายุมีโรคประจำตัวเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิงผู้สูงอายุที่มีกลุ่มโรคประจำตัวรวมร้อยละ 50.7 กลุ่มผู้สูงอายุที่ไม่มีโรคประจำตัวมากกว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กนกกาญจน์ อินศรี. (2553). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ เขตอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก. สารนิพนธ์ (พัฒนาสังคม).
มหาวิทยาลัยนเรศวร.พิษณุโลก.
เจียรนัย ทรงชัยกูล. (2546). การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุด้านสุขภาพกายและสุขภาพใจ. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์. มหาวิทยา
ลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช. นนทบุรี.
ชื่นนภา บุญตาเพศ และวงกต ศรีอุไร. (2553). “ระบบวินิจฉัยโรคพริกโดยใช้เทคนิคการจำแนกข้อมูล”. ภาควิชาคณิตศาสตร์สถิติและคอมพิวเตอร์
, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
ฝาตีม๊ะ เกนุ้ย. (2555). วิจัยเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบการจัดการข้อมูลตำบลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจพัฒนาเชิงพื้นที่ใน 5 จังหวัดใต้:กรณีศึกษาจังหวัดสตูล. กรุงเทพมหานคร : สำนักกองทุน
สนับสนุนการตัดสินใจ
พัชราภรณ์ ราชประดิษฐ์ และจันทนาจันทราพรชัย. (2555). ระบบผู้เชี่ยวชาญเพื่อวินิจฉัยโรคข้าว, พยาบาลวิชาชีพ, สำนักงานศูนย์สาธารณสุขโพธิ์กลาง. (2557). จังหวัดนครราชสีมา
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคมุโรคกระทรวงสาธารณสุข. (2551). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ. 2550.นนทบุรี:โรงพิมพ์องค์การทหารผ่านศึก.
มาโนช ห้วยหงส์ทอง วิภารัตน์ กุลที และสรารัตน์ แก้วมานพ. (2553). คู่มือแนะนำ WEKA. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. [ออนไลน์].
แหล่งที่มา : http://www.ki.in.th/course/iis/project/41-คู่มือ แนะนำ Weka_ปรับปรุงล่าสุด.pdf
ปรีชา ยามันสะบีดีน และบุญเสริม กิจศิริกุล. (2549). การประยุกต์ใช้ดาต้าไมนิ่งในการบริหารลูกค้าสัมพันธ์สำหรับนักศึกษาระดับอุดมศึกษา.
งานประชุมวิชาการเรื่องผลงานวิจัยและนวัตกรรมสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน.
Aswathy Wilson, Gloria Wilson and Likhiya Joy.(2014). “Heart Disease Prediction Using the Data mining Techniques”.
Department of Computer Science and Engineering Volume 2 Issue 1.
J.Gehtke, R.Ramakrishnan, and V.Ganti.Rainforest.(1998). “A framework for fast decision tree construction of largedatasets”.In Proceeding of International Conference
Very Large Database, p.416-427. Education System”.
N. Delavari. (2005). Application of Enhanced Analysis Model for Data Mining Processes in Higher. ITHET 6th AnnualInternational Conference.