การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและแจ้งเตือนอัคคีภัยกองทัพเรือ

Main Article Content

จิตติ สัมภัตตะกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังและแจ้งเตือนอัคคีภัยโดยใช้ Lightweight Protocol Microcontroller และระบบแสดงผล และ 2) เพื่อประเมินระบบเฝ้าระวังและแจ้งเตือนอัคคีภัย และประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่นักเรียนนายเรือ จำนวน 40 คน ที่ฝึกอยู่เรือหลวงบางปะกง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ ฮาร์ดแวร์ และโปรแกรม สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบ Lightweight Protocol และ Microcontroller แบบ esp8266 (NodeMCU) สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบเฝ้าระวังและแจ้งเตือนอัคคีภัยได้ เมื่อใช้ร่วมกับ เครือข่ายไร้สาย นอกจากนั้นยังสามารถส่งข้อมูลระหว่าง Sensor Microcontroller มายังส่วนแสดงผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ ผู้ปฏิบัติงานสามารถเห็นภาพรวมซึ่งนำไปสู่การวิเคราะห์สถานการณ์ได้ง่ายยิ่งขึ้น 2) ผลการประเมินระบบเฝ้าระวัง และแจ้งเตือนอัคคีภัย แบ่งเป็น การประเมินระบบ และการประเมินความพึงพอใจจากผู้ใช้งาน พบว่าผลการประเมินอยู่ในระดับดี ทั้งสองประเภท

Article Details

How to Cite
สัมภัตตะกุล จ. (2021). การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและแจ้งเตือนอัคคีภัยกองทัพเรือ. วารสารวิชาการ "การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ", 7(1), 96–108. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/project-journal/article/view/242294
บท
บทความวิจัย

References

Miranda, J.; Cabral, J.; Wagner, S.R.; Fischer Pedersen, C.; Ravelo, B.; Memon, M.; Mathiesen, M. (2016). An Open

Platform for Seamless Sensor Support in Healthcare for the Internet of Things. Sensors 16, 2089.

Bahman A. Sassani, and Noreen Jmil, and Maria Villapol, and Abbas Malik M and Sreenivas Sremath Tirumala.

(2019). FireNot-An IoT based Fire Alerting System: Design and Implementation. Journal of Ambient Intelligence and Smart Environments 1, IOS Press.

F Saeed, A. Paul, A Rehman, W.Hong and H. Seo, (2018). Io-based intelligent modeling of smart home

environment for fire prevention and safety, Journal of Sensor and Actuator Networks 7(1),11.

Yuua Sasaki, Tesuya Yokotani, Performance Evaluation of MQTT as a Communication Protocol for IoT and Prototyping, Advances in Technology Innovation, vol. 4, no. 1, 2019, pp. 21 - 29

Dhafer Ben Arbia. (2017). Enhanced IoT-Based End-To-End Emergency and Disaster Relief System. Journal of Sensor and Actuator Networks (August).

Izwan Idris. (2017). Real-time Vehicle Monitoring and Positioning using MQTT for Reliable Wireless Connectivity. Degree of Master of Information Technology (Research). Queensland University of Technology.

Likert, Rensis. (1967). “The Method of Constructing and Attitude Scale”. In Reading in Fishbeic, M (Ed.), Attitude Theory and Measurement (pp. 90-95). New York: Wiley & Son.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553).การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น

M. Trinath Basu, Ragipati Karthik, J. Mahitha, V. Lokesh Reddy (2018), IoT Based Forest Fire Detection System, International Journal of Engineering & Technology, pp. 124-126

BOGDAN Mihai, (2016), How to Use The DHT22 Sensor For Measuring Temperature And Humidity With The Arduino Board, ACTA UIVERSITATIS CIBIIENSIS – Technical Series, Vol. LXVIII, DOI: 10.1515/aucts-2016-0005