ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านแพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์ FACTORS INFLUENCING PURCHASE INTENTIONS THROUGH SOCIAL MEDIA PLATFORMS

Main Article Content

เบญจมาภรณ์ รุ่นภาพันธุ์
ศักดิ์ชาย ตั้งวรรณวิทย์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านแพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์และ 2) เพื่อได้ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านแพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์


ผลการวิจัยพบว่าโมเดลสมเดลสมมุติฐานที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าสถิติ CMIN/DF = 2.000 GFI = 0.915 CFI = 0.962 RMSEA = 0.052 และ IFI = 0.962 และโมเดลสมมติฐานสามารถอธิบายความตั้งใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านแพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์ได้ พบว่า ประโยชน์ในเชิงเปรียบเทียบ อิทธิพลทางสังคม และ ความง่ายในการใช้งาน สามารถพยากรณ์ทัศนคติต่อการ ใช้งาน (Attitude toward Using Intention) ได้ร้อยละ 88.50 และ ทัศนคติต่อการใช้ส่วนประสมทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายและด้านการส่งเสริมการตลาด สามารถร่วมกันพยากรณ์ความตั้งใจใช้งานได้ร้อยละ 77.70


คำสำคัญ: ความตั้งใจซื้อ , การยอมรับเทคโนโลยี , การซื้อสินค้าผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์


 

Article Details

How to Cite
รุ่นภาพันธุ์ เ., & ตั้งวรรณวิทย์ ศ. (2023). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านแพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์: FACTORS INFLUENCING PURCHASE INTENTIONS THROUGH SOCIAL MEDIA PLATFORMS. วารสารวิชาการ "การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ", 9(1), 129–142. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/project-journal/article/view/248704
บท
บทความวิจัย

References

อุไรวรรณ วีระประวัติ.(2563).การตัดสินใจซื้อรองเท้าสตรีผ่านช่องทางออนไลน์.มหาวิทยาลัยมหิดล.

We Are Social และ Hootsuite.AvailableOnline at https://www.everydaymarketing.co/trend-insight/insight-thailand-digital-stat-2022-we-are-social/

กัลยา โตทองหลาง สุภัทริดา บรรดาศักดิ์ และ อุบลวรรณ เลิศนอก.(2562) การศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (Facebook) ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 6 ประจำปี 2562.

(The HubSpot Blog's 2023 Marketing Strategy & Trends Report: Data from 1,200+ Global Marketers.The HubSpot Blog's 2023 Marketing Strategy & Trends Report Available Online at https://blog.hubspot.com/marketing/hubspot-blog-marketing-industry-trends-report

บทความไอที 24 ชั่วโมง.Available Online athttps://www.springnews.co.th/news

Digital Platform แพลตฟอร์มออนไลน์. Available Online at https://www.pangpond.com/platform

Armstrong, G. & Kotler, P. (2009). Marketing, an introduction (9 th ed.) Pearson Prentice Hall.,p. 616

แครีน ริเกอ.(2562).ปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าของผู้บริโภค ผ่านแอพพลิเคชั่น Shopee ในเขตเมืองพัทยามหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Hult et al. (2014).Partial least squares structural equation modeling (PLS-SEM): A useful tool for family business researchers.

Warut Ploysuayngam and Sakchai Tangwannawit.Using Technology Acceptance Model to Investigate the Adoption of Information System for the Qualification of Curriculum Standard and Teacher Professional Production of Faculty of Education, Bansomdejchaopraya Rajabhat University,Vol16,pp.21-27,2020

จุฑารัตน์ เกียรติรัศมี.(2558).ปัจจัยที่มีผลต่อการซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

] ณัฐสพันธ์ เผ่าพันธุ์.(2552).ทัศนคติของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่มีต่อความตั้งใจซื้อสินค้าผ่านออนไลน์.มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

กนิดา วงศ์อัศวนฤมล และ ชัยวัฒน์ อุตตมากร.(2563).ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจส่งพัสดุผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ ในประเทศไทย.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปรรถนา สิริวรกุล.(2563).ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ทวิตเตอร์.มหาวิทยาลัยมหิดล.

Hult et al. (2014).Partial least squares structural equation modeling (PLS-SEM): A useful tool for family business researchers.

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory. New York: McGraw-Hill Book.

Hult et al. (2014).Partial least squares structural equation modeling (PLS-SEM): A useful tool for family business researchers.

Schumacker and Lomax .(2004). A BEGINNER’S GUIDE TO STRUCTURAL EQUATION MODELING, University of North Texas.

ฆนัสวัน ทามณี.(2564). ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดและอิทธิพลทางสังคมที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อวิดีโอเกมรูปแบบดิจิทัลในเขตกรุงเทพมหานคร.มหาวิทยาลัยมหิดล.

Lu Lin.(2016).Dynamics between the trust transfer process and intention to use mobile, payment services: A cross-environment perspective.Huazhong University of Science and Technology.

Renny, Guritno & Siringoringo.(2013).Perceived Usefulness, Ease of Use, and Attitude Towards Online Shopping Usefulness Towards Online Airlines Ticket Purchase.Gunadarma University.

วนิดา นรพล และประยงค์.(2017).การรับรู้ความง่าย การรับรู้ประโยชน์ ทัศนคติและการยอมรับในการทำงานร่วมกับหุ่นยนต์ของพนักงานในบริษัทผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่งใน เขตนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้จังหวัดชลบุรี.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ณัฐสพันธ์ เผ่าพันธุ์.(2552).ทัศนคติของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่มีต่อความตั้งใจซื้อสินค้าผ่านออนไลน์.มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

วงศ์วริศ สุทธิจิราวัฒน์ และ สุมามาลย์ ปานคำ.(2563).อิทธิพลของการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ การสื่อสารแบบปากต่อปากผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีผลต่อความภักดีในตราสินค้าและความตั้งใจซื้อสินค้าผ่านแอปพลิเคชันของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล.มหาวิทยาลัยรังสิต.

สุธีรา และ ธนัญญา.(2564).ความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีต่อความตั้งใจซื้อของผู้บริโภคกาแฟที่บ้าน.มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

Lombardi, C. V., Chidiac, N. T., & Record, B. C. (2021). Starbucks coffee marketing response to the COVID-19 pandemic. Innovative Marketing, 17(2), 177-188.

ระพีพัฒน์ เป็งวันปลูก และ นิเวศน์ ธรรมะ. ส่วนประสมทางการตลาดและการยอมรับเทคโนโลยีที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์กำจัดสนิมออนไลน์ กรณีศึกษากรุงเทพมหานคร.

Berthier, L. (2020). To promote or not to promote? Our advice to retailers in the wake of COVID-19. Available Online at https://www.symphonyretailai.com/knowledge-hub/to-promote-or-not-to-promote-our-advice-to-retailers-in-the-wake-of-covid-19.