การพัฒนาสื่อโมชันอินโฟกราฟิกเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับกฎหมายเบื้องต้น The Development Motion Infographic for the Learning of Basic Laws
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาสื่อโมชันอินโฟกราฟิกเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับกฎหมายเบื้องต้น และ 2) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้สื่อโมชันอินโฟกราฟิกเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับกฎหมายเบื้องต้น โดยการสร้างสื่อโมชันอินโฟกราฟิก ได้ดำเนินการสร้างตามขั้นตอนของการสร้างสื่อแอนิเมชัน คือ ขั้นตอนก่อนการผลิต ขั้นตอนการผลิต และขั้นตอนหลังการผลิต กลุ่มเป้าหมาย คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน และกลุ่มผู้เข้าอบรม จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) สื่อโมชันอินโฟกราฟิกเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับกฎหมายเบื้องต้น 2) แบบประเมินคุณภาพของสื่อโมชันอินโฟกราฟิก 3) แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อสื่อโมชันอินโฟกราฟิก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
จากผลการวิจัยพบว่า 1) สื่อโมชันอินโฟกราฟิกเพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับกฎหมายเบื้องต้น มีความถูกต้อง มีความสมบูรณ์ในการแสดงของภาพและเสียงที่สอดคล้องกัน รวมถึงเทคนิคต่าง ๆ ที่ใช้ดูลื่นไหล 2) ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพสื่อโดยมีคุณภาพอยู่ในระดับดี ( = 4.31, SD. = 0.26) และ 3) ประเมินความพึงพอใจจากกลุ่มผู้เข้าอบรม อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.50, SD. = 0.51)
Article Details
References
เอกสารอ้างอิง
มานิตย์ จุมปา. (2555). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กัญญาลักษณ์ ไชยธงรัตน์. (2556). เกี่ยวกับกฎหมายโลกของคนรักกฎหมาย.
https://sites.google.com/site/popkanyalak/kdhmay-khux-xari-2
Thatcher, B. (2012). An Overview of Infographics. Webninar. Illinois Central Collage Teaching & Learning Center.
www.slideshare.net/iccitic2
Heer, J., Bostock, M., & Ogievetskey, V. (2010). A tour through the visualization zoo. Communications of the
ACM, 53(6), 59-67.
Card, S. (2009). Information Visualization. In Sears, A. & Jacko, J. A. (Eds.), HumanComputer Interaction: Design
Issues, Solutions, and Application (510-543). Boca Raton, FL: CRC Press.
Siricharoen, W. V. (2013, May). Infographics: the new communication tools in digital age. In The international
conference on e-technologies and business on the web (ebw2013) (Vol. 169174), Bangkok, Thailand
Freeman, D.H. (2017). The Moving Image Workshop: Introducing animation, motion graphics and visual effects
in 45 practical projects. UK/USA: Bloomsbury Publishing.
Lankow, J., Ritchie, J., & Crooks, R. (2012). Infographics: The power of visual storytelling. Canada: John Wiley &
Sons, Inc.
บุญเพราะ แสงเทียน. (2560). กฎหมายธุรกิจเพื่อการจัดการจัด (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.
กำธร กำประเสริฐ และมัลลิกา พินิจจันทร์. (ม.ป.ป.). หลักกฎหมายเอกชน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ส่วนนิติการ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. (2566). กฎหมายที่ควรรู้เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน. https://dla.wu.ac.th/th/archives/3522
จงรักษ์ เทศนา. (ม.ป.ป.). การสอนผ่านเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บ.
http://www.krujongrak.com/infographics/infographics_information.pdf
Edward, S., & Heer, J. (2010). Narrative Visualization: Telling stories with data.
IEEE Transactions on Visualization and Computer Graphics, 16(6), 1139-1148.
Betrancourt, M., & Tversky, B. (2000). Effect of computer animation on users’ performance: A review. Le Travail
Humain, 63(4), 311-329.
Brucker, B., Scheiter, K., & Gerjets, P. (2014). Learning with dynamic and static visualizations: Realistic details
only benefit learners with high visuospatial abilities. Computers in Human Behavior, 36, 330-339.
Tversky, B., Morrison, J. B., & Betrancourt, M. (2002). Animation: Can it facilitate? International Journal of Human-
Computer Studies, 57(4), 247-262.
วิสิฐ จันมา. (2558). ประวัติศาสตร์และพื้นฐานการออกแบบภาพเคลื่อนไหว (History and Basic of Animation). กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วรรณทิภา ธรรมโชติ. (2562). การพัฒนาสื่อโมชันกราฟิกเพื่อประกอบการเรียนรู้รายวิชา ส22101 สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม เรื่อง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารโครงงานวิทยาการคอมพิวตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, 5(2), 37-47
จิราพร ขุนศรี. (2565). การพัฒนาสื่ออินโฟกราฟิก (Infographic) ด้วยการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อสร้างความรู้
ความเข้าใจ และความตระหนักในปัญหาไฟป่าและหมอกควัน. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 5(2), 1 – 9.
กิติพนธ์ สิริไวทยางกูร. (2566). การพัฒนาสื่ออินโฟกราฟิก เรื่อง ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะ
ศิลปศึกษา. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 8(2), 1110 – 1118.
ยุพาวดี ฐานขันแก้ว. (2561). การวิจัยเรื่องการสร้างสื่ออินโฟกราฟิกเรื่องจริยธรรมในการใช้โซเชียลมีเดีย.
http://www.northbkk.ac.th/research/?news=research&id=000350
สุทธิพงษ์ คล่องดี และนลินี ชนะมูล. (2564). การพัฒนาสื่อโมชันกราฟิก แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ชุมชนขนมแปลกริม
คลองหนองบัว จังหวัดจันทบุรี. วารสารวิชาการการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, 7(2), 75 – 83.
Best, J. W. (1977). Research in Education (3rd ed.). (pp.190). Prentice Hall, Inc.