An Analysis of Factors Influencing the Decision to Dietary Supplements through Social Media การวิเคราะห์ปัจจัยของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีอิทธิผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารเสริม

Main Article Content

Phimine Wongtha

Abstract

The purpose of this research was to analyze the factors of social media's influence on the decision to dietary supplements. The sample group included general social media users, and the sample was randomly selected from this group, 400 people. The research tool was a questionnaire assessing social media's influence on the decision to dietary supplements. The statistical methods used in the research were mean, standard deviation, and exploratory factor analysis (EFA).


The research findings showed that the factor analysis of the 66-item questionnaire had a reliability coefficient (Alpha efficient = 0.084). The exploratory factor analysis, which is a method of analyzing the components of an object, used orthogonal rotation with the Varimax Rotation (KMO = 0.753, Significant = .000), to design the application of social media for influencing consumer purchasing decisions, the factors with the highest component weights of 30 items were selected, consisting of 4 elements: 1) Social media platforms: Facebook, YouTube, Line, Instagram, Google, Twitter, Messenger, Websites 2) Presentations through social media platforms: Model presentations, Advertising media presentations, Channels to access information, Communication 3) Product and price 4) Place or distribution channel.

Article Details

How to Cite
Wongtha, P. (2024). An Analysis of Factors Influencing the Decision to Dietary Supplements through Social Media: การวิเคราะห์ปัจจัยของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีอิทธิผลต่อการตัดสินใจซื้ออาหารเสริม. Journal of Applied Information Technology, 10(1), 186–204. retrieved from https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/project-journal/article/view/254117
Section
Articles

References

สำนักงานธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2566). แผนยุทธศาสตร์เกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2566-2570 กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. https://www.etda.or.th.

อรรถศิษฐ์, พัฒนะศิริ วรลักษณ์, และวงศ์โดยหวัง ศิริเจริญ. (2559). สื่อสังคมและอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม. 4(2), 152-160.

วิภาดา พิทยาวิรุฬห์. (2557). สื่อดิจิทัลที่มีอิทธิพลต่อการตอนสนองของผู้บริโภคในการเข้าถึงข้อมูลทางการตลาด. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ. 5(1), 80-96.

Bansal, M., & Kumar, S. (2018). Impact of social media marketing on online impulse buying behaviour. Journal of Advances and Scholarly Researches in Allied Education. 15(5), 136-139. https://doi.org/ 10.29070/15/57560

Sharma, K. (2020). Impact of Social Media Marketing on Consumer Buying Behaviour. International Journal for Research in Applied Science and Engineering Technology, 8(1), 472-475.

Hussain, I., Sabir., Mahfooz, M., & Yaqub, M. Z. (2023). The Impact of Social Media Marketing on the Consumer Buying Behavior. International Journal of Emerging Business and Economic Trends. 2(1), 102-114. http://journals.sbbusba.edu.pk/ebet/index.php/abc/article/download/12/23.

วลีรัตน์ นันทเอกพงศ์, และสายพิณ ปั้นทอง. (2565). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อสุขภาพของคนวันทำงาน จากร้านสะดวกซื้อในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารนวัตกรรมและการจัดการ. 7(1), 96-109.

วสุธิดา นุริตมนต์, และนันทพร ห้วยแก้ว. (2564). อิทธิพลของคุณลักษณะผลิตภัณฑ์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารของผู้สูงอายุ การทดสอบเชิงประจักษ์ความเป็นตัวแปรส่งผ่านของการรับรู้คุณค่า. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. 11(1), 58-71.

นันทพันธ์ โนนศรีเมือง, และสดชื่น อุตอามาตรย์. (2565). ผลกระทบของการสื่อสารการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์ที่มีต่อความตั้งใจซ้อสินค้าเพื่อสิ่งแวดล้อมของผู้บริโภคเจนเนอเรชันวาย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 14(3), 37-49.

ดวงทิพย์ ปานรักษา, และสุวรรณา เตชชะธีระปรีดา. (2566, 6 กันยายน). การศึกษาและการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของการมีส่วนรวมทางสื่อสังคมออนไลน์ที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อเครื่องสำอางแบรนด์ SMEs ไทยของลูกค้าผู้หญิงกลุ่มมิลเลนเนียล. ใน การประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 6. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/miniconference/article/view/4427/3025.

Yogesh, F., & Yesha, M. (2014). Effect of social media on purchase decision. Pacific Business Review International, 6(11), 45-51. http://www.pbr.co.in/2014/2014_month/May/9.pdf.

Yong, K., & Hassan, R. A. (2019). The relationships between social media marketing and entrepreneurial success: A conceptual study on homestay business in Sabah, Malaysia. Review of Integrative Business and Economics Research, 8, 25-33. http://buscompress.com/uploads/3/4/9/8/34980536/riber_8-s1_02_s18-142_25-33.pdf

พิมาย วงค์ทา. (2563). การวิเคราะห์องค์ประกอบความสำเร็จการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของธุรกิจด้านสุขภาพและความงาม. วารสารการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. 6(1), 70-82.

วิชุดา จันทร์เวโรจน์, กิตติวงค์ สาสวด, ปรีชา ดิลกวุฒิสิทธิ์, และวรรณี นนท์ธนประกิจ. (2564). องค์ประกอบการใช้สื่อสังคมออนไลน์สำหรับธุรกิจ มุมมองด้านแนวคิดและทฤษฎี. วารสารชุมชนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 15(2), 1-26.

วิเชียร วงศ์ณิชชากุล. (2550). การบริหารการส่งเสริมการตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

นุชจรินทร์ ชอบดำรงธรรม. (2553). อิทธิพลขอสื่อโฆษณาในเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีผลต่อกระบวนการตอบสนองของผู้บริโภค. [การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. https://thesis.swu.ac.th/ swuthesis/Mark/Nuchjarin_C.pdf

นุชจรินทร์ ชอบดำรงธรรม. (2554). อิทธิพลขอสื่อโฆษณาในเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่มีผลต่อกระบวนการตอบสนองของผู้บริโภค. วารสารศรีนครินทร์วิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 3(6), 12-25.

สุทิพย์ ประทุม, และสรัญณี อุเส็นยาง. (2565). การยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศในยุควิธีชีวิตใหม่. วารสารลวะศรี มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี. 6(1),1-18.

เปรมกมล หงส์ยนต. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นออนไลน์ (ลาซาด้า) ของผู้บริโภคยุคดิจิทัลในกรุงเทพมหานคร [การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยสยาม. https://e-research.siam.edu/wp-content/uploads/2019/05/MBA-2018-IS-Factors-influencing-the-decision-to-purchase-the-product-via-online-application-Lazada-consumer-digital-era-in-Bangkok.pdf.

อรรคเดช จันทรมานะ. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสมาร์ทโฟนผ่านตลาดออนไลน์ในประเทศไทย [การศึกษาค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยสยาม. https://e-research.siam.edu/kb/factors-influencing-consumers-decision-to-buy-smart-phones-in-the-online-market-place-in-thailand/#dflip-df_30011/3

อรรนพ เรืองกัลป์ปวงศ์, และสราวรรณ์ เรืองกัลป์ปวงศ์. (2558). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกบริโภคผลิตภัณฑ์อาหารสุขภาพของผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัย มสด สาขามนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์. 11(2), 77-94.

ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ. (2556). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 44(1), 1-16.

จารุพร ตั้งพัฒนากิจ, และปาณก เสนาฤทธิไกร. (2565). บทบาทของการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันในแบบจำลองสมการโครงสร้าง. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 1(2), 99-110

Cochran, W. G. (1953). Sampling techiques. New York : Wiley.

ธันวา ธีรธรรมธาดา. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์บำรุงผิวหน้า [การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. https://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2015/

TU_2015_5702030288_3550_1897.pdf

สุภมาส อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตวรรณา, และรัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์. (2552). สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมการศาสตร์ เทคนิคการใช้โปรแกรม Lisrel (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: สิรบุตรการพิมพ์.

Best, J.W. (1997). Research in Education (3rd ed). New Jersey : Prentice Hall Inc.

ณฐภศา เดชานุเบกษา. (2565). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์และรูปแบบเครื่องมือสื่อสารตลาดออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ้าไทยและผ้าพื้นเมืองบนตลาดออนไบน์ในจังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิจัยวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. 6(2), 106-119.

เกรียง กิจบำรุงรัตน์. (2565). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสิในจซื้อสินค้าของผู้บริโภคทางสังคมออนไลน์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 41(1), 18-28

นพพร บัวอินทร์, และกฤชเชาว์ นันทสุดแสวง. (2562). ส่วนผสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อสุขภาพของผู้บริโภคในจังหวัดระยอง. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปกร. 39(5), 72-84.

ชุติมา คล้ายสังข์. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าผ่านสื่อสังคมออนไลน์ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์. 15(1), 37-69.

กานต์พิชชา งามชุ่ม, ดวงตา สราญรมย์, และกรัณย์พัฒน์ อิ่มประเสริฐ. (2563). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ พฤติกรรมและกระบวนการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ด้านความงามของผู้บริโภคผ่านช่องทางการค้าแบบดิจิทัล. วารสาร มจร การพัฒนาสังคม. 5(2), 9-15.

Gaurav, K., & Ray, A. S. (2020). Impact of social media advertising on consumer buying behavior in Indian E-commerce industry. Sumedha Journal of Management. 9(1), 41-51. https://doi.org/10.46454/SUMEDHA/9.1.2020.3

เกวลี เพ็ชรเนียม, และจัญญา ปานเจริญ. (2560). สื่อการโฆษณาการตลาดดิจิตอลที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหนาคร. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. 5(3), 43-51

วิชญ์ชยา ฐิติจิรวิชญ์, และชุติมา เกศดายุรัตน์. (2562). การศึกษาพฤติกรรมการเปิดรับสื่อออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์อาหารเสริมความงาม. ใน การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ “Graduate school mini-conference” (น. 973-981). มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

สุรีรัตน์ ธรรมจง, ณัฐวิภา ศรีนิธิการตยากร, พรชพรรณ ภู่เทศ, มันตา สุกก่ำ, รัชนิดา ศรีวิเชียร, ทาริกา สระทองคำ, และสุภชัย เหมือนโพธิ์. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าบนสื่อสังคมออนไลน์ของผู้บริโภคกลุ่มคนเหงา. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์. 3(2), 54-65.

วิชุดา จันทร์ดวโรจน์, กิตตวงค์ สาสวด, ปรีชา ดิลกวุฒิสิทธิ์, และวรรณี นนท์ธนประกิจ. (2564). องค์ประกอบการใช้สื่อสังคมออนไลน์สำหรับธุรกิจ มุมมองด้านแนวคิดและทฤษฎี. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 15(2), 13-26.