กำรเพิ่มประสิทธิภำพกระบวนกำรเคลื่อนย้ำยบรรจุภัณฑ์น ำดื่มบรรจุขวด โดยใช้ แนวคิดไคเซ็น : กรณีศึกษำโรงงำนน ำดื่ม

ผู้แต่ง

  • มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี วิชาการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
  • เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
  • มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี วิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คำสำคัญ:

การเพิ่มประสิทธิภาพ, แนวคิดไคเซ็น, บล็อก, ลูกกลิ้งล้าเลียง

บทคัดย่อ

การที่มีสุขภาพที่ดีควรได้รับน้้าดื่มที่สะอาดปราศจากเชื้อโรคและมีความปลอดภัยซึ่งในขณะนี้มีแนวโน้มความ
ต้องการน้้าดื่มบรรจุขวดที่สะอาดเพิ่มมากขึ้นตามจ้านวนประชากร น้้าดื่มเพื่อบริโภคบรรจุขวด ซึ่งมีผู้ประกอบการเกิดขึ้น
จ้านวนมากโดยในแต่ละผู้ประกอบการได้ตระหนักถึงความส้าคัญในการผลิตที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของ
ลูกค้า ดังนั้นโรงงานผลิตน้้าดื่มจึงมีแนวคิดเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตโดยมีขั้นตอนการผลิต 6 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนบรรจุน้้าลงขวดเปล่า ขั้นตอนปิดฝาขวดน้้าดื่มที่ท้าการบรรจุเสร็จแล้วใส่รถเข็น ขั้นตอนเคลื่อนย้ายน้้าดื่มบรรจุขวด
ไปยังห้องห่อบรรจุภัณฑ์ขั้นตอนจัดเรียงน้้าดื่มบรรจุขวดขึ้นโต๊ะ ขั้นตอนท้าการห่อบรรจุภัณฑ์และขั้นตอนเป่าลม จาก
ข้อมูลดังกล่าวข้างต้นพบปัญหาในกระบวนการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์น้้าดื่ม เนื่องจากเวลามากเกินไปและขั้นตอนที่ซ้้าซ้อน
ในขั้นตอนเคลื่อนย้ายน้้าดื่มบรรจุขวดไปยังห้องห่อบรรจุภัณฑ์และขั้นตอนจัดเรียงน้้าดื่มบรรจุขวดขึ้นโต๊ะเนื่องจากพนักงาน
มีการวางขวดน้้าที่ปิดฝาเรียบร้อยแล้วใส่รถเข็นโดยไม่มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยส่งผลให้ขั้นตอนจัดเรียงน้้าดื่มบรรจุขวด
ขึ้นโต๊ะใช้เวลาในการจัดเรียงมากเกินไปและท้างานซ้้าซ้อน ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดในการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการ
เคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์น้้าดื่มบรรจุขวดโดยใช้แนวคิดไคเซ็น KAIZEN 7QC Tools และวงจรบริหารคุณภาพ PDCA โดยการ
ใช้บล็อกและลูกกลิ้งล้าเลียงเพื่อจัดเรียงขวดให้เป็นระเบียบเรียบร้อยและง่ายต่อการเคลื่อนย้ายท้าให้สามารถลดงาน ลด
เวลาในกระบวนการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์น้้าดื่มบรรจุขวด
ผลการวิจัยของการศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์น้้าดื่มบรรจุขวดโดยใช้แนวคิด
ไคเซ็น กรณีศึกษาโรงงานผลิตน้้าดื่ม ท้าให้สามารถปรับปรุงปัญหา ความล่าช้า ลดงาน และลดเวลามาตรฐานหลังการ
ปรับปรุงกระบวนการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์น้้าดื่มบรรจุขวด ด้วยเครื่องมือบล็อกและลูกกลิ้งล้าเลียงส่งผลให้ลดงาน ลด
เวลาระหว่างกระบวนการ จากเดิมก่อนการปรับปรุง เวลามาตรฐานเท่ากับ 371.91 วินาที ซึ่งหลังท้าการปรับปรุง
กระบวนการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์น้้าดื่มบรรจุขวด เวลามาตรฐานลดลงเหลือเท่ากับ 68.94 วินาที หรือคิดเป็นร้อยละ 81

References

1. พนิดา หวานเพ็ชร. 2555. การเพิ่มประสิทธิภาพ
การท้างานโดยใช้แนวคิดไคเซ็น : กรณีศึกษา แผนกบัญชี
ค่าใช้จ่าย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการวิศวกรรมธุรกิจ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
2. กัมปนาท สมหวัง, แววมยุรา ค้าสุข และทัศนีญา
ผิวขม. 2561. การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในกระบวนการผลิตโดยใช้แนวคิดไคเซ็น
กรณีศึกษา: บริษัทซินโฟเนียร์เทคโนโลยี (ประเทศไทย)
จ้ากัด. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.
3. ซารีน่า ไวยสุภี. 2554. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อ
การมีส่วนร่วมกิจกรรมไคเซ็น (KAIZEN) ของพนักงาน
กรณีศึกษา: บริษัทโซนี่เทคโนโลยี (ประเทศไทย) จ้ากัด.
วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
จัดการทั่วไป คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลธัญบุรี.
4. กตัญญู หิรัญญสมบรูณ์. 2548. การบริหาร
อุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: บริษัท เท็กซ์
แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น จ้ากัด.
ตำรำงที่ 4 สรุปผลล้าดับขั้นตอน เวลามาตรฐานในการเคลื่อนย้ายบรรจุภัณฑ์น้้าดื่มบรรจุขวด
ล ำดับขั นตอนงำนหลัก
เวลำมำตรฐำน (วินำที) เปอร์เซ็นต์
เวลำปรับปรุง ค่ำประมำณกำร
ก่อนปรับปรุง
ค่ำประมำณกำร
หลังกำรปรับปรุง
1. บรรจุน้้าลงขวดเปล่า 13.80 13.80 0%
2. ปิดฝาขวดน้้าดื่มที่ท้าการบรรจุเสร็จแล้ว 8.05 8.05 0%
3. เคลื่อนย้ายน้้าดื่มบรรจุขวดไปยังห้องห่อบรรจุภัณฑ์ 11.50 6.21 46 %
4. จัดเรียงน้้าดื่มบรรจุขวดขึ้นโต๊ะ 300.84 6.44 98 %
5. ท้าการห่อบรรจุภัณฑ์ 12.60 12.60 0%
6. เป่าลม 21.84 21.84 0%
รวม 371.91 68.94 81 %
8 วารสารวิจัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2563
5. ฐาปนันดร์ เขียวสังข์ และศุภรัชชัย วรรัตน์. 2555.
การลดของของเสียในกระบวนการผลิตการขึ้นรูปบรรจุภัณฑ์
พลาสติก. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการทางวิศวกรรม มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิตย์.
6. ธนกฤษ ซุ่นแซ่ง. 2556. การลดของเสียใน
กระบวนการฉีดพลาสติก กรณีศึกษาของเสียประเภทจุดด้า.
วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการทางวิศวกรรม มหาวิทยาลัยธุรกิจ
บัณฑิตย์.
7. บรรพจน์ ต๊ะอ้าย และวิชัย ฉัตรทินวัฒน์. 2560.
การพัฒนาระบบส่งเสริมการปรับปรุงการผลิตและคุณภาพ
อย่างต่อเนื่องในบริษัทผลิตจักรเย็บผ้าด้วยเทคนิคไคเซ็น.
วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาตรมหาบัณฑิต สาขา
วิ ศ ว ก ร ร ม อุต ส า ห กา ร ค ณ ะ วิ ศ ว ก รรมศ า ส ต ร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
8. ภานุวัฒน์ มั่นสลุง, ศรายุทธ ยิ่งยง และกิตติทัต
กลิ่นส่ง. 2560. การศึกษาวิเคราะห์การบ้ารุงรักษาเชิง
ป้องกันเครื่องจักร กรณีศึกษา บริษัทเบทาโกร จ้ากัด
(มหาชน) ลพบุรี 4. ปริญญานิพนธ์อุตสาหกรรมศาสตร
บัณฑิต สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
9. สุภรัตน์ พลูสวัสดิ์. 2559. การเพิ่มประสิทธิภาพ
การท้างานของแผนกเอกสารขาออก กรณีศึกษาสายเรือ
แห่งหนึ่งในเขตพื้นที่แหลมฉบัง. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
10. โสภณ เกิดสมบัติ, ณัฐกิตติ์ ทั่งทอง และณัฐพงษ์
เชยชม. 2560. การวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุและแนว
ทางการลดต้นทุนในกระบวนการบรรจุน้้าดื่ม โดยการ
ประยุกต์ใช้แนวคิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง KAIZEN.
ปริญญานิพนธ์อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการ
จัดการอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
11. วิเชียร วิทยอุดม. 2554. การจัดการสมัยใหม่.
พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : บริษัท ธนธัช การพิมพ์ จ้ากัด.
12. อดิศร แสงฉาย. 2555. การปรับปรุงคุณภาพของ
กระบวนการผลิตเครื่องถ่วงน้้าหนัก กรณีศึกษาบริษัทสตีล
เลอร์ สตัลเวอร์ดส์ จ้ากัด. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจ
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการวิศวกรรมธุรกิจ คณะ
บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
13. อรรถพร อ่้าขวัญยืน. 2558. การเพิ่มประสิทธิภาพ
กระบวนการผลิตน้้าดื่มบรรจุขวดพลาสติกโดยใช้ทฤษฎี
การผลิตแบบลีน. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจ
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการวิศวกรรมธุรกิจ คณะ
บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
14. โตชิ คูเมะ. 2540. Management By Quality
(MBQ): ไทย-ญี่ปุ่น. แปลโดย กิติศักดิ์พลอยพานิชเจริญ
และปรีชา ลีลานุกรม. กรุงเทพฯ: บริษัท ส.เอเซียเพรส จำกัด.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-05