ระบบติดตามกิจกรรมการเคลื่อนไหวแบบทันที สำหรับประเมินการเคลื่อนไหวและความเสี่ยงในการหกล้มในผู้สูงอายุ

Main Article Content

กิตติศักดิ์ บัวบก
สุภัสสรา จีนบุญมี
วัศวี แสนศรีมหาชัย
มานะชัย โต๊ะชูดี

บทคัดย่อ

- ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา โครงสร้างประชากรของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยยะสำคัญ โดยสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง และคาดการณ์ว่าในอีกไม่เกิน 20 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด หนึ่งในปัญหาสำคัญของผู้สูงอายุ ได้แก่ ภาวะหกล้ม ซึ่งคือ ภาวะที่ผู้สูงอายุมีปัญหาการทรงตัวและการเคลื่อนที่ไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งนำไปสู่การหกล้มบ่อยภาวะดังกล่าวผลกระทบต่อผู้สูงอายุอย่างมากทั้งด้านร่างกายและจิตใจ นำไม่สู่ปัญหาทางสุขภาวะสำคัญอื่นๆ เช่น ภาวะกระดูกหัก (Fracture) และความพิการทางร่างกาย อีกทั้งบ่อยครั้งเป็นอันตรายถึงชีวิต ผู้จัดทำจึงมีแนวคิดในการพัฒนาระบบที่สามารถติดตามกิจกรรมการเคลื่อนไหวและประเมินความเสี่ยงในการหกล้มของผู้สูงอายุจากระยะไกล ระบบมีความสามารถในการจำแนกและวิเคราะห์กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวแบบทันที จัดเก็บประวัติการทำกิจกรรม ประเมินความเสี่ยงในการหกล้มของผู้สูงอายุ ผลการทดสอบประสิทธิภาพสามารถการันตีได้ว่า ระบบต้นแบบที่พัฒนาขึ้นสามารถปฏิบัติงานภายใต้สภาพแวดล้อมการทำงานจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยความถูกต้องในการจำแนกกิจกรรมการเคลื่อนไหวเฉลี่ย ร้อยละ 93.90

Article Details

How to Cite
[1]
บัวบก ก., จีนบุญมี ส., แสนศรีมหาชัย ว., และ โต๊ะชูดี ม., “ระบบติดตามกิจกรรมการเคลื่อนไหวแบบทันที สำหรับประเมินการเคลื่อนไหวและความเสี่ยงในการหกล้มในผู้สูงอายุ”, JIST, ปี 6, ฉบับที่ 1, น. 16–24, มิ.ย. 2016.
บท
บทความวิจัย Soft Computing:

References

1. สำนักงานสถิติแห่งชาติ, ผลการสำรวจประชากรสูงอายุ พ.ศ.2557, http://service.nso.go.th/nso/nsopublish/themes/files/elderlyworkFullReport57-1.pdf (เข้าถึงครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2559).

2. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, การสูงวัยของประชากรไทย พ.ศ. 2557, http://www.ipsr.mahidol.ac.th/ipsrbeta/th/BookReport.aspx, (เข้าถึงครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 8 กันยายน 2559).

3. Y.-W. Bai, S.-C. Wu and C.-L. Tsai, “Design and implementation of a fall monitor system by using a 3-axis accelerometer in a smart phone”, IEEE Transactions on Consumer Electronics, Vol. 58, No. 4, pp. 1269-1275, Nov. 2012.

4. S. Dernbach, B. Das, C. N. Krishnan, B. L. Thomas and D. J. Cook, “Simple and Complex Activity Recognition through Smart Phones”, in Proceedings of IE 2012, 2012, pp. 214-221.

5. C. Jalayondeja, “Falls screening by Timed Up and Go (TUG)”, Journal of Medical Technology and Physical Therapy, Vol 26, No. 1, pp. 5 -16.

6. P. Jantaraprim, P. Phukpattaranont, C. Limsakul and B. Wongkittisuksa, “Fall detection for the elderly using a support vector machine”, International Journal of Soft Computing and Engineering, Vol. 2, No. 1, Mar. 2012, pp. 484-490.

7. J. R. Kwapisz, G. M. Weiss and S. A. Moore, “Activity Recognition Using Cell Phone Accelerometers”, ACM SIGKDD Explorations Newsletter, Vol. 12, No. 2, pp. 74-82.

8. O. D. Lara and M. A. Labrador, “A survey on human activity recognition using wearable sensors”, IEEE Communications Surveys Tutorials, Vol. 15, No. 3, Jan. 2013, pp. 1192-1209.

9. J. W. Lockhart, G. M. Weiss, J. C. Xue, S. T. Gallagher, A. B. Grosner, and T. T. Pulickal, “Design considerations for the wisdm smart phonebased sensor mining architecture”, in Proceedings of SensorKDD’11, 2011, pp. 25-33.

10. S. Mathias, U. S. Nayak and B. Lsaacs, “Balance in elderly patients: the get-up and go test”, Arch Phys Med Rehabil, Vol. 67, No. 6, pp. 387-389.

11. D. Podsiadlo and S. Richardson, The time “Up & Go”: a test of basic functional mobility for frail elderly persons. J Am Geriatr Soc, Vol. 39, No.2, Feb. 1991, pp. 142-148.

12. N. Ravi, N. Dandekar, P. Mysore, and M. L. Littman, “Activity recognition from accelerometer data”, in Proceedings of IAAI 2005 - Volume 3, 2005, pp. 1541–1546.

13. F. Sposaro and G. Tyson, “iFall: An android application for fall monitoring and response”, Proceedings of EMBC’09, 2009, pp. 6119-6122.