การพัฒนาระบบควบคุมการส่องสว่างสำหรับการปลูกพืชด้วยเครือข่ายเซ็นเซอร์ ไร้สาย

Main Article Content

อรัญ ประกอบสัญท์
รพีพงศ์ รัตนวรหิรัญกุล
จิตสราญ สีกู่กา

บทคัดย่อ

- บทความนี้นำเสนอการพัฒนาระบบควบคุมการส่องสว่างของหลอดไดโอดเปล่งแสงแบบหรี่ได้สำหรับการปลูกพืชด้วยเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สาย โดยทำการทดลองตั้งค่าระบบให้มีการปรับระดับการเปล่งแสงของหลอดไดโอดเปล่งแสง ให้สอดคล้องกับความต้องการของพืชด้วยวงจร Buck Converter เพื่อขับหลอดไดโอดเปล่งแสงสองสีคือสีแดงและสีน้ำเงินซึ่งควบคุมโดยไมโครคอนโทรลเลอร์และทำการส่งข้อมูลแบบไร้สายเข้าสู่เครือข่ายด้วยเซ็นเซอร์ไร้สาย Zigbee เพื่อให้สามารถตรวจสอบ ควบคุม และประมวลผลการทดลองได้ในระยะไกล จากการทดลองพบว่างานวิจัยนี้สามารถควบคุมค่าความสว่างของหลอดไดโอดเปล่งแสงให้มีค่าความเข้มแสงในระดับที่พืชต้องการได้อย่างถูกต้อง และสามารถทำให้ผู้ใช้งานเข้าถึงข้อมูลได้ตลอดเวลาผ่านเครือข่ายไร้สายที่ถูกออกแบบไว้ได้อย่างแม่นยำ โดยมีค่าความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์ ค่าความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ย และค่าความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์สูงสุดของหลอดไดโอดเปล่งแสงเฉลี่ยทั้งสองสีอยู่ที่ 2.255% 3.3125% และ 7.6725% ตามลำดับ อีกทั้งยังสามารถลดอัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าได้ 35% เมื่อเทียบกับหลอดฟลูออเรสเซนต์แบบ T5

Article Details

How to Cite
[1]
ประกอบสัญท์ อ., รัตนวรหิรัญกุล ร., และ สีกู่กา จ., “การพัฒนาระบบควบคุมการส่องสว่างสำหรับการปลูกพืชด้วยเครือข่ายเซ็นเซอร์ ไร้สาย”, JIST, ปี 6, ฉบับที่ 2, น. 1–8, ธ.ค. 2016.
บท
บทความวิจัย Soft Computing:

References

1. เมธินี ศรีวัฒนกุล และ จารุวรรณ จาติเสถียร “การพัฒนาวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อข้าวพันธุ์รับรองโดยใช้ระบบเพาะเลี้ยงยอดอ่อน” กลุ่มวิจัยพัฒนาเทคโนโลย เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร สํานักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ.

2. สังคม เตชะวงค์เสถียร “ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช” ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3. Bula, R. J., R. C. Morrow, T. W. Tibbits, and D. J. Barta. Light–emitting diodes as a radiation source for plants. HortScience. 1991.

4. Moe, C. & Izurieta, R. Longitudinal study of double vault urine diverting toilets and solar toilets in El Salvador. Proceedings of the Second International Symposium on Ecological Sanitation, Lubeck, Germany, 7-11 April 2003.

5. Jao, W.-C., Henry, T. J., Subasavage, J. P., Bean, J. L., Costa, E., Ianna, P. A., & Me´ndez, R. A. 2003.

6. ปัจจัยที่จำเป็นต่อการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช (ออนไลน์) แหล่งที่มา:202.143.156.243/anubankwp/web1/web/.../5CQkB64 sSUIc.doc. 12 มกราคม 2559.

7. D Gislason, Zigbee Wireless Networking, 1st Edition, 21 Aug 2008.

8. พูนศักดิ์ พรเพิ่มพูน. ระบบไร้สายโดยใช้ Zigbee เพื่อควบคุมและติดตามสถานะเครื่องจักรและเซ็นเซอร์ในโรงงานผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ คณะสถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2556.

9. Serial UART to USB mini B Converter V4. Available from:http://www.thaieasyelec.com/products/interface-modules/usb-converter/serial-uart-to-usb-mini-b-converter-v4-detail.html. [Cited 21 August 2016].

10. Lux Meter LI-250A. Available from: https://www.licor.com/env/ products/light/light_ meter.html. [Cited 21 August 2016].

11. Forouzan, Behrouz A. Data Communications and Networking. New York: McGraw-Hill. 2007.

12. Stallings, William. Cryptography and network security: principles and practice. New Jersey: Prentice Hall. 2003.

13. Abou El-Ela, M. and Alkanhel, M. Bluetooth Based Telemetry/ PLC system. Al-Azhar Engineering Ninth International Conference. 2007.

14. Li, Pengfei and Li, Jiakun. Application of Communication and Remote Control in PLC Based on ZigBee. Computational Intelligence and Security. 2009.