การใช้เกมเพื่อการเรียนรู้สำหรับส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

Main Article Content

ลดาวัลย์ แย้มครวญ
ศุภกฤษฏิ์ นิวัฒนากูล

บทคัดย่อ

- งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเกมเพื่อการเรียนรู้ไปใช้เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งแบ่งเป็นกลุ่มทดลองหรือกลุ่มที่เรียนแบบปกติร่วมกับเกมเพื่อการเรียนรู้ และกลุ่มควบคุมหรือกลุ่มที่เรียนแบบปกติ กลุ่มละ 30 คน โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ 1) ทักษะการแก้ปัญหา 2) ทักษะการให้เหตุผล 3) ทักษะการสื่อสาร และการนำเสนอ 4) ทักษะการเชื่อมโยง และ 5) ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในทุกทักษะ และกลุ่มทดลองมีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในทุกทักษะ

Article Details

How to Cite
[1]
แย้มครวญ ล. และ นิวัฒนากูล ศ., “การใช้เกมเพื่อการเรียนรู้สำหรับส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6”, JIST, ปี 7, ฉบับที่ 1, น. 33–41, มิ.ย. 2017.
บท
บทความวิจัย Soft Computing:

References

1. Bostan B. Player motivations: A psychological perspective. Computers in Entertainment 2009;7(2):22.1-22.25.

2. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. การวัดและประเมินผลคณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด; 2555.

3.สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ [อินเทอร์เน็ต]. ผลการทดสอบการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) 2559; 2560. สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2560. เข้าถึงได้จาก http://www.newonetresult.niets.or.th/AnnouncementWeb/PDF/SummaryONETM6_2559.pdf

4. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [อินเทอร์เน็ต]. สรุปผลการวิจัยโครงการ TIMSS 2015; 2558. สืบค้นเมื่อ 3 มกราคม 2560. เข้าถึงได้จาก: https://drive.google.com/file/d/0Bza8voFmdF srRGlYbmdPa0pkXzg/view.

5. เอื้อมพร หลินเจริญ, สิริศักดิ์ อาจวิชัย และภีรภา จันทร์อินทร์. ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การสอบ O-NET ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ต่ำ. รายงานการวิจัย สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน); 2552.

6. ชัยศักดิ์ ลีลาจรัสกุล. เอกสารคำสอนรายวิชาหลักสูตรและการสอนคณิตศาสตร์โรงเรียนมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ; 2543.

7. จิราภรณ์ ศิริทวี. กลยุทธ์การพัฒนาผู้เรียน: ประสบการณ์จากการปฏิบัติจริง. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม (ศูนย์คุณธรรม) สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน); 2551.

8. กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2551.

9. บุญญา เพียรสวรรค์. การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการให้เหตุผล เรื่อง การให้เหตุผลเกี่ยวกับรูปสามเหลี่ยมและรูปที่เหลี่ยม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร 2560;3(25) :156-168.

10. นภาพันธ์ ศรีชัย, มารศรี กลางประพันธ์ และสมเกียรติ พละจิตต์. การพัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจต่อการเรียนโดยวิธีสอนแบบโครงงานร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบ 4 MAT ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารบัณฑิตศึกษา 2558;2(58):67-78.

11. Katmada A, Mavridis A, Tsiatsos T. Implementing a Game for Supporting Learning in Mathematics. The Electronic Journal of e-Learning 2014;12(3):230-242.

12. กิรณา อึ้งสกุล, โสพล มีเจริญ, สุรพล บุญลือ. การสร้างวิธีการสอนร่วมกับแอพพลิเคชั่นแบบพกพา (Tablet) เพื่อพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์. ใน: เอกสารการประชุมสัมมนาทางวิชาการ มทร.ตะวันออก มรภ.กลุ่มศรีอยุธยา และราชนครินทร์วิชาการและวิจัย; 2557.

13. สุรางค์ โค้วตระกูล. จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2556.

14. International Standard Organization. ISO/IEC 9126: Information Technology – Software Product Evaluation - Quality Characteristics and Guidelines for Their Use. Geneva: International Organization for Standardization; 1991.

15. Likert R. A Technique for the Measurement of Attitudes. Archives of Psychology 1932;140:1-55.

16. Fisher RA. Statistical methods for research workers. 11th Edition. Edinburgh: Oliver & Boyd; 1950.

17. Rovinelli RJ., Hambleton RK. On the Use of Content Specialists in the Assessment of Criterion-Referenced Test Item Validity. Dutch Journal for Educational Research 1997;2(2):49-60.

18. Kuder GF, Richardson MW. The theory of estimation of test reliability. Psychometrika 1937;2:151-160.

19. Krejcie R.V., Morgan D.W. Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement 1970;30: 607-610.

20. Student. The Probable Error of a Mean. Biometrika 1908;6(1):1- 25.

21. Heimer RT, Trueblood CR. Strategies for Teaching Children Mathematics. Washington D.C.: Addison – Wesley Publishing Company; 1977.

22. Grambs JD, Carr JC, Fitch RM. Modern Methods in Secondary Education. 3rd Edition. U.S.A.: Holt, Rinehart and Winston, Inc; 1970.