ระบบควบคุมการให้น้ำเห็ดนางฟ้าภูฐานแบบพ่นหมอกด้วยระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์

Main Article Content

Patthamanan Isaranontakul
Chamnan Rukphong

บทคัดย่อ

งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างระบบควบคุมการให้น้ำเห็ดนางฟ้าภูฐานแบบพ่นละอองน้ำอัตโนมัติและแอพพลิเคชันควบคุมการทำงานของระบบดังกล่าว และเพื่อศึกษาประสิทธิภาพการทำงานของระบบให้น้ำเห็ดนางฟ้าภูฐาน ซึ่งแอพพลิเคชันมีการทำงาน 3 ฟังก์ชัน 1) สามารถสั่งเปิดและปิดน้ำโดยผู้ใช้ 2) สามารถเปิดน้ำตามช่วงเวลาที่กำหนดแบบอัตโนมัติ 3) สามารถเปิดน้ำตามอุณหภูมิและความชื้นที่อ่านค่าได้จากเซ็นเซอร์ DHT22 ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการควบคุมอุณหภูมิและความชื้นแบบอัตโนมัติ โดยการสั่งการให้น้ำได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ ตลอดจนการทำงานแบบอัตโนมัติสามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม

Article Details

How to Cite
[1]
P. Isaranontakul และ C. Rukphong, “ระบบควบคุมการให้น้ำเห็ดนางฟ้าภูฐานแบบพ่นหมอกด้วยระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์”, JIST, ปี 9, ฉบับที่ 1, น. 1–8, มิ.ย. 2019.
บท
บทความวิจัย Internet of Things (IoT)

References

1. B.B, Prahlada Rao et. al. “Cloud computing for Internet of Things & sensing based applications”. Proceedings of the International Conference on Sensing Technology, ICST, vol , No , pp 374-380, 2012.

2. Nayyar, Anand & Puri, Vikram. “Smart farming: IoT based smart sensors agriculture stick for live temperature and moisture monitoring using Arduino” , cloud computing & solar technology, vol , No , 2016.

3. Oran Chieochan, Anukit Saokaew and Ekkarat Boonchieng. “IOT for smart farm: A case study of the Lingzhi mushroom farm at Maejo University”. 14th International Joint Conference on Computer Science and Software Engineering (JCSSE), Nakhon Si Thammarat, vol , No , pp. 1-6, 2017.

4. ดนุวัศ อิสรานนทกุล และวโรดม มูระวงษ์, “การควบคุมการรดน้ำในสวนบนแอนดรอยด์แอพพลิเคชัน”, รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3, 2560, หน้าที่ 111-117.

5. ชินาพัฒน์ สกุลราศีสวย และคณะ, “การเปรียบเทียบประสิทธิภาพระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเห็ดในโรงเพาะเห็ดกรณีศึกษา:ฟาร์มเห็ดบ้านเนินสะอาด จังหวัดนครพนม”, Journal of Information Science and Technology, vol 8, No 2, pp. 46-55, 2560.

6. ชำนาญ พิทักษ์ทอง, เห็ดเศรษฐกิจ, กรุงเทพฯ: เกษตรสยามบุ๊คส์, 2551.

7. บุญยัง สิงห์เจริญ และสันติสาแก้ว, “ระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นในโรงเรือนเพาะเห็ด”, การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คร้ังที่ 1 (The 1st RUSNC), 2559, หน้าที่ 176-183.

8. วีรศักดิ์ ฟองเงิน, สุรพงษ์ เพ็ชร์หาญและรัฐสิทธิ์ ยะจ่อ, “การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไอโอทีควบคุมฟาร์มอัจฉริยะในโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้า”, วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, ปีที่ 5, ฉบับที่ 1, หน้าที่ 172-182, 2561.

9. ศุภวุฒิ ผากา, สินติ วงษ์ใหญ่ และอดิศร ถมยา, “การพัฒนาระบบควบคุมอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเห็ดในโรงเพาะเห็ดบ้านทุ่งบ่อแป้น ตำบลปงยางคก อำเภอห้างฉัตรจังหวัดลำปาง”, วารสารวิชาการคณะเทคโนโลยีอตุสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, ปีที่ 7 ,ฉบับที่ 1, หน้าที่ 58-69.

10. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ, คู่มือการเพาะเห็ดเศรษฐกิจและเห็ดพื้นเมือง, กรุงเทพมหานคร: บริษัท มูฟเม้นท์ เจน ทรี จำกัด, 2555.