การประยุกต์ใช้วิธีวิเคราะห์ความถดถอยร่วมกับตรรกศาสตร์คลุมเครือเพื่อพยากรณ์การพ้นสภาพนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ

Main Article Content

สัตถาภูมิ ไทยพานิช
ผณินทร เสือแพร
พยุง มีสัจ

บทคัดย่อ

- บทความนี้นาเสนอเทคนิคการพยากรณ์การพ้นสภาพนักศึกษาในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ การวิเคราะห์ความถดถอยเชิงเส้นและวิธีการตรรกศาสตร์คลุมเครือถูกเลือกเพื่อสร้างระบบพยากรณ์การพ้นสภาพนักศึกษา ข้อมูลปูมหลังของนักศึกษา ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ปีการศึกษา 2551 จานวน 151 คนถูกเลือกใช้เพื่อวิเคราะห์และสร้างแบบจาลองพยากรณ์การพ้นสภาพนักศึกษา และทดสอบเพื่อหาความคลาดเคลื่อนในการพยากรณ์ด้วยข้อมูลนักศึกษาชั้นปีที่1 ปีการศึกษา 2552 ในสาขาวิชาเดียวกัน ผลการทดสอบพบว่า วิธีการที่นาเสนอมีความคลาดเคลื่อนในการพยากรณ์ เท่ากับ 0.02 เปอร์เซ็นต์

Article Details

How to Cite
[1]
ไทยพานิช ส., เสือแพร ผ., และ มีสัจ พ., “การประยุกต์ใช้วิธีวิเคราะห์ความถดถอยร่วมกับตรรกศาสตร์คลุมเครือเพื่อพยากรณ์การพ้นสภาพนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ”, JIST, ปี 4, ฉบับที่ 2, น. 24–29, ธ.ค. 2013.
บท
บทความวิจัย Soft Computing:

References

1. D. Dubois, H. Prade, ”Fuzzy Sets and Systems: Theory and Applications”, Academic Publishers, New York, 1980.

2. พยุง มีสัจ. ระบบฟัซซีและโครงข่ายประสาทเทียม. ศูนย์ผลิตตาราเรียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระ นครเหนือ. 2555.

3. บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. “ระเบียบวิธีวิจัยแนวทางสู่ความสาเร็จ” สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์, 2550

4. Zimmermann, H. “Fuzzy set theory and its applications”. Boston: Kluwer Academic Publishers. ISBN 0-7923-7435-5.

5. ฉลอง สีแก้วสิ่ว“ ,Regression Analysis”, Thailand (Online)Available: https:// www.statistics.ob.tc/ reg1.htm, 9 July 2012.

6. การประมาณความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของสมการถดถอย , Available: https://www.oocities.com/goodyuta/regression.doc, 11 September 2012.

7. Regression Analysis, Available: https://www.nubkk.nu.ac.th/picnews/s_1327074364.chapter%2010%20statistic.pdf, 11 September 2012.