การประยุกต์ใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพของหลอดไฟส่องสว่างถนนที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ กรณีศึกษา เทศบาลเมืองมหาสารคาม
Main Article Content
บทคัดย่อ
- การประยุกต์ภูมิสารสนเทศเพื่อวิเคราะห์ประสิทธิภาพของหลอดไฟส่องสว่างถนนที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ โดยดำเนินการเก็บข้อมูลข้อมูลของเสาไฟทุกต้นในพื้นที่ศึกษา และนับปริมาณการจราจรจากจดนับรถทั้ง 5 จุด นำข้อมูลเสาไฟที่ได้มาจัดทำฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ จากนั้นนำข้อมูลปริมาณการจราจรที่มาวิเคราะห์หาค่ามลพิษทางอากาศด้วยโปรแกรม CALINE 4 แสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยการประมาณค่าช่วง (IDW) และวิเคราะห์การจับกลุ่มมลพิษทางอากาศด้วยเทคนิคการจับกลุ่ม (Cluster and Outlier) เพื่อดูค่าการกระจายตัวของมลพิษ และคำนวณหาค่าความส่องสว่างของหลอดไฟทั้งแบบปกติ และแบบที่มีผลกระทบเนื่องจากมลพิษที่ทำการคำนวณได้ ผลการวิเคราะห์มลพิษทางอากาศ พบว่ามลพิษจับกลุ่มเป็นจำนวนมากในบริเวณที่มีการจราจรหนาแน่น การวิเคราะห์ประสิทธิภาพความส่องสว่างพบว่า ค่าปกติของหลอดโซเดียมความดันไอสูง (HPS) และหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Flu) มีค่า 10.56 ลักซ์ (lux) และ 2.16 ลักซ์ (lux) ตามลำดับ เมื่อมีผลกระทบจากมลพิษคาร์บอนมอนอกไซด์ (Co) และ ฝุ่นละออง (Pm10) ทำให้ประสิทธิภาพในการส่องสว่างของหลอดโซเดียมความดันไอสูง และหลอดฟลูออเรสเซนต์ลดลงเหลือ 6.33 ลักซ์ และ 1.26 ลักซ์ ตามลำดับ ซึ่งประสิทธิภาพของหลอดไฟที่เสื่อมสภาพความส่องสว่างคิดเป็นร้อยละ 40 และ 41.67 ตามลำดับ และเห็นได้ว่ามลพิษทางอากาศส่งผลกระทบโดยตรงต่อประสิทธิภาพในการส่องสว่างของหลอดไฟ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
I/we certify that I/we have participated sufficiently in the intellectual content, conception and design of this work or the analysis and interpretation of the data (when applicable), as well as the writing of the manuscript, to take public responsibility for it and have agreed to have my/our name listed as a contributor. I/we believe the manuscript represents valid work. Neither this manuscript nor one with substantially similar content under my/our authorship has been published or is being considered for publication elsewhere, except as described in the covering letter. I/we certify that all the data collected during the study is presented in this manuscript and no data from the study has been or will be published separately. I/we attest that, if requested by the editors, I/we will provide the data/information or will cooperate fully in obtaining and providing the data/information on which the manuscript is based, for examination by the editors or their assignees. Financial interests, direct or indirect, that exist or may be perceived to exist for individual contributors in connection with the content of this paper have been disclosed in the cover letter. Sources of outside support of the project are named in the cover letter.
I/We hereby transfer(s), assign(s), or otherwise convey(s) all copyright ownership, including any and all rights incidental thereto, exclusively to the Journal, in the event that such work is published by the Journal. The Journal shall own the work, including 1) copyright; 2) the right to grant permission to republish the article in whole or in part, with or without fee; 3) the right to produce preprints or reprints and translate into languages other than English for sale or free distribution; and 4) the right to republish the work in a collection of articles in any other mechanical or electronic format.
We give the rights to the corresponding author to make necessary changes as per the request of the journal, do the rest of the correspondence on our behalf and he/she will act as the guarantor for the manuscript on our behalf.
All persons who have made substantial contributions to the work reported in the manuscript, but who are not contributors, are named in the Acknowledgment and have given me/us their written permission to be named. If I/we do not include an Acknowledgment that means I/we have not received substantial contributions from non-contributors and no contributor has been omitted.
References
2. สมบูรณ์ รัตนพลแสน (2559) การลดการใช้พลังงานในระบบไฟฟ้าสาธารณะ กรณีศึกษา เทศบาลเมืองมหาสารคาม. (วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี). เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2560
3. อทิสมัย โสพัน (2551) การออกแบบระบบส่องสว่าง ไฟถนน. [ออนไลน์]. สืบค้นได้จาก: https://www. teacher.ssru.ac.th/athisamai_so/file.php/1/L7_Slide_road_lighting_design [สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2559]
4. สัญชัย เอี่ยมประเสริฐ (2554) การเปรียบเทียบวิธีการประมาณค่าปริมาณน้ำฝนรายวันด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บริเวณพื้นที่ราบลุ่มน้ำเจ้าพระยา. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
5. Vojkan Gajovic, (2013). Spatial and temporal analysis of fires in Serbia for period 2000-2013. (Faculty of Geography – University of Belgrade )สืบค้นได้จาก:https://www.researchgate.net/ Publication/274826510_Spatial_and_temporal_analysis_of_fires_in_Serbia_for_period_2000-2013