การพัฒนาสื่อความจริงเสริมเชิงความหมาย เพื่อแนะนำการดูแลสุขภาพจิตแก่ผู้สูงอายุ

Main Article Content

ยุภา คำตะพล

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบฐานความรู้เชิงความหมายเพื่อแนะนำการดูแลสุขภาพจิตแก่ผู้สูงอายุ 2) พัฒนาสื่อความจริงเสริมเชิงความหมาย เพื่อแนะนำการดูแลสุขภาพจิตแก่ผู้สูงอายุ และ 3) ประเมินประสิทธิภาพของสื่อความจริงเสริมเชิงความหมาย เพื่อแนะนำการดูแลสุขภาพจิตแก่ผู้สูงอายุ เก็บรวบรวมองค์ความรู้จากตำรา และสัมภาษณ์เชิงลึกกับนักจิตเวช โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล พื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดพิษณุโลก ที่มีประสบการณ์ในการดูแลผู้ป่วยทางจิตเวชในสูงอายุ จำนวน 30 คน และใช้แบบสอบถามกับผู้สูงอายุ จำนวน 70 คน เพื่อสร้างสื่อความจริงเสริมเชิงความหมายในรูปแบบเว็บแอปพลิเคชัน และทำการประเมินประสิทธิภาพ และความพึงพอใจต่อระบบกับนักจิตเวช และผู้สูงอายุ ผลการวิจัยพบว่า ฐานความรู้ออนโทโลยีแบ่งออกเป็น 3 ระดับชั้น เชื่อมต่อกับสื่อความจริงเสริมแบบสองมิติ ที่มีเนื้อหาคลอบคลุมตามแนวคิดสุข 5 มิติ ค่าประสิทธิภาพของระบบโดยรวมเท่ากับ 88.9% และผู้ใช้พึงพอใจต่อระบบในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ( x̄= 4.24, SD=0.599)

Article Details

How to Cite
[1]
คำตะพล ย., “การพัฒนาสื่อความจริงเสริมเชิงความหมาย เพื่อแนะนำการดูแลสุขภาพจิตแก่ผู้สูงอายุ ”, JIST, ปี 10, ฉบับที่ 2, น. 77–89, ธ.ค. 2020.
บท
บทความวิจัย Information Systems

References

Department of Mental Health, Promote mental health of the elderly, Nonthaburi: Department of Mental Health, 2019.

G. Antoniou, E. Franconi and F.V Harmelen, “Introduction to Semantic Web Ontology Languages,” In Proc. Lecture Notes in Computer Science, January, pp. 1-21, 2005.

J. Pakorn, “AR (Augmented Reality) technology, the virtual world merges the real world,” February, 2018. [Online], Available: https://www.scimath.org/article-technology/item/7755-ar-augmented-reality. [Accessed Aug. 10, 2019].

H. Kim, T. Matuszka, J. Kim1, J. Kim, W. Woo, “Ontology-based mobile augmented reality in culturalheritage sites: information modeling and user study,” Multimedia Tools and Applications, Vol. 76, no 24, pp. 26001–26029, 2017.

J. Dechicchis, “Semantic Understanding for Augmented Reality and ItsApplications,” M. S. thesis, Duke University, Durham, North Carolina, 2020.

L. Djordjevic, N. Petrovic and M. Tosic, “An Ontology-based Framework for AutomatedCode Generation of web AR Applications,” Telfor Journal, Vol. 12, no 1, pp. 67-72, 2020.

Ministry of Mental Health, Office of Mental Health and Development, Standards for Mental Health Promotion and Prevention of Mental Health Problems for Community Hospital / Office of Mental Health Promotion and Development, Department of Mental Health, Ministry of Public Health. Nonthaburi: Department of Mental Health, 2015.

C. D. Manning, P. Raghavan and H. Schütze, “Introduction to Information Retrieval,” Cambridge University Press, London, United Kingdom, 2009.

P. Cimiano, O. Corcho, V. Presutti, L. Hollink and S. Rudolph, “The Semantic Web: Semantics and Big Data,” In Proc. Extended Semantic Web Conference ’10, 2013.

P. Sittichak and W. Sanchana, “Development knowledge management system for mangkla folk music in lower northern area for promote and distribute of thai culture using ontology and semantic wikipedia,” Rajabhat Chiang Mai Research Journal, Vol. 15, no 1, pp. 59-72, 2014.