การจำแนกระดับคุณภาพน้ำด้วยการเรียนรู้เชิงลึกผ่านแอปพลิเคชันระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์

Main Article Content

ณัฐวดี หงษ์บุญมี
ธีรพงศ์ อ่อนคำ

บทคัดย่อ

น้ำเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำรงชีวิตและการยังชีพของสิ่งมีชีวิตทั้งหมด ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำได้รับผลกระทบจากของเสียและสารมลพิษเพิ่มมากขึ้น การตรวจสอบคุณภาพน้ำเป็นสิ่งสำคัญต่อการจัดการระบบนิเวศและทรัพยากรน้ำดังนั้น งานวิจัยนี้จึงนำเสนอการตรวจสอบคุณภาพน้ำโดยประยุกต์ใช้เทคนิคการเรียนรู้เชิงลึกเพื่อจำแนกระดับคุณภาพน้ำจากภาพแบบอัตโนมัติผ่านแอปพลิเคชันระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ขั้นตอนการดำเนินการ ประกอบด้วย การรวบรวมชุดข้อมูลภาพจำนวนทั้งหมด 480 ภาพ แบ่งออกเป็น 4ประเภท ได้แก่ คุณภาพน้ำเกรด A เกรด B เกรด C และเกรด Dนำข้อมูลภาพไปฝึกสอนให้เครื่องคอมพิวเตอร์เรียนรู้และสร้างโมเดลจำแนกระดับคุณภาพน้ำแต่ละประเภททดลองเปรียบเทียบด้วยอัลกอริทึม 3แบบ ได้แก่ MobileNet0.5MobileNet 0.75 และ MobileNet 1.0การประเมินประสิทธิภาพโมเดลใช้ค่าความถูกต้อง ความแม่นยำ และความระลึก จากนั้นนำโมเดลไปพัฒนาเป็นแอปพลิเคชันและขั้นตอนสุดท้ายคือการทดสอบประสิทธิภาพแอปพลิเคชัน ผลการทดลองพบว่า(1) โมเดลMobileNet 1.0 มีความเหมาะสมมากที่สุด โดยการวัดประสิทธิภาพด้วยค่าความถูกต้องได้100.00%ค่าความแม่นยำ 100.00% ค่าความระลึก 100.00%และ (2) ผลการทดสอบประสิทธิภาพแอปพลิเคชันพบว่า อัตราความสำเร็จในการจำแนกภาพเท่ากับ82.50%มีประสิทธิภาพความแม่นยำอยู่ในระดับดี ส่วนผลการประเมินคุณภาพแอปพลิเคชันจากผู้เชี่ยวชาญ มีค่าเฉลี่ย 4.33 อยู่ในระดับมีความเหมาะสมมาก ผลการทดลองทั้งหมดแสดงให้เห็นว่าวิธีการและแอปพลิเคชันที่นำเสนอนี้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการเป็นเครื่องมือช่วยตรวจสอบวิเคราะห์คุณภาพน้ำจากภาพถ่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพและง่ายต่อการใช้งาน

Article Details

How to Cite
[1]
หงษ์บุญมี ณ. และ อ่อนคำ ธ., “การจำแนกระดับคุณภาพน้ำด้วยการเรียนรู้เชิงลึกผ่านแอปพลิเคชันระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์”, JIST, ปี 12, ฉบับที่ 2, น. 31–41, ธ.ค. 2022.
บท
บทความวิจัย Information Systems

References

N. Tangkhananurak and K. Tangkhananurak, Principles of chemical water quality analysis. Bangkok: Kasetsart University Press, 2007.

Department of Health, “Water quality criteria,” Department of Health Laboratory Center, 2021. [Online]. Available:https:// rldc.anamai.moph.go.th/th/water-quality-standards [Accessed: Aug. 9, 2021].

Department of National Parks Wildlife and Plant Conservation, “Water quality of the basin,” Department of National Parks Wildlife and Plant Conservation, 2021. [Online]. Available:https://www.dnp.go.th/Research/watershade/qullity.html [Accessed: Sep. 19, 2021].

Pollution Control Department, “Water quality and water pollution,” Pollution Control Department, 2021.[Online]. Available: https://www.pcd.go.th/faqs/waterqualityandwaterpollution [Accessed: Sep. 12, 2021].

K. Sraubon, LearnAI:Deep Learning with Python. Bangkok: Intermedia Press, 2022.

N. Phromrit and S. Wichanya, Fundamental of Deep Learning in Practice. Bangkok: IDC Premier, 2021.

G. Lin, and W. Shen, “Research on Convolutional Neural Network based on Improved Relu - piecewise Activation Function,” Procedia Computer Science, vol. 131, no.1,pp. 977-984, 2018.

F. Pu, C. Ding, Z. Chao, Y. Yu, and X. Xu, “Water-Quality Classification of Inland Lakes Using Landsat8 Images by Convolutional Neural Networks,” Remote Sensing, vol. 11, no. 14, pp. 1674-1688, 2019.

A. Mahmood, M. Bennamoun, S. An, F. Sohel, F. Boussaid,R. Hovey, G. Kendrick,and R. Fisher, “Automatic annotation of coral reefs using deep learning,” In Proceedings of OCEANS 2016 MTS/IEEE Monterey, pp. 1-5, 2016.

R. Barzegar, M. Aalami and J. Adamowski, “Short-term water quality variable prediction using hybrid CNN-LSTM deep learning model,” Stochastic Environmental Research and Risk Assessment, vol. 34, no. 1, pp. 415-433, 2020.

J. Orlando, E. Prokofyeva,M. Fresno and M. Blaschko, “An ensemble deep learning based approach for red lesion detection in fundus images,” Computer Methods and Programs in Biomedicine, vol. 2018, no. 153, pp. 115-127, 2018.

S. Krishnan, S. Antani and S. Jaeger, “Visualizing Deep Learning Activations for Improved Malaria Cell Classification,”In Proceedings of First workshop Medical Informatics and Healthcare, Machine Learning Research, pp. 1-8, 2017.

H. Wu and Z. Zhou, “Using convolution neural network for defective image classification of industrial components,” Mobile Information Systems, vol. 2021, no. 1, pp. 1-8, 2021.

D. Sinha and M. El-Sharkawy, “Thin MobileNet: An Enhanced MobileNet Architecture,” In Proceedings of IEEE 10th Annual Ubiquitous Computing, Electronics & Mobile Communication Conference (UEMCON2019), pp. 0280-0285, 2019.

T. Arfan, M. Hayaty, and A. Hadinegoro, “Classification of Brain Tumours Types based on MRI Images using Mobilenet,” In Proceedings of 2ndInternationalConference on Innovation and Creative Information Technology (ICITech2021), pp. 69-73, 2021.

S. Naseer, MR Ali, A. Muneer, and A. Fati, “iAmideV-Deep: ValineAmidation Site Prediction in Proteins Using Deep Learning and Pseudo Amino Acid Composition,” Symmetry, vol. 2021, no. 13, pp. 1-19, 2021.