ผลของการกระตุ้นทางเคมีที่มีต่อถ่านกัมมันต์จากใบสับปะรด
Main Article Content
บทคัดย่อ
ถ่านกัมมันต์จากใบสับปะรดที่ผ่านการคาร์บอไนซ์ด้วยเตาเผาท้องถิ่นถูกนำมาศึกษาผลของปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการกระตุ้น เช่น อุณหภูมิ ระยะเวลา และอัตราส่วนของถ่านต่อกรดฟอสฟอริก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นในการศึกษาความเป็นไปได้ในการนำมาใช้เป็นถ่านกัมมันต์ วิเคราะห์ผลด้วยการหาเลขการดูดซับไอโอดีน การหาพื้นที่ผิวด้วยวิธีบรูนัวร์ เอ็มเมทท์และเทลเลอร์ (Brunauer Emmett Teller: BET) และวิเคราะห์หมู่ฟังก์ชันด้วยเทคนิคฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรสโคปี พบว่าเมื่อเพิ่มอุณหภูมิในการกระตุ้น ค่าเลขการ ดูดซับไอโอดีนเพิ่มขึ้น และสอดคล้องกับพื้นที่ผิวจาก BET ที่เพิ่มมากขึ้น สภาวะที่เหมาะในการกระตุ้นถ่านใบสับปะรดคือ อุณหภูมิ 700 องศาเซลเซียส ระยะเวลาในการแช่กรดฟอสฟอริก 3 ชั่วโมง และอัตราส่วนระหว่างถ่าน:กรด คือ 1:1 กรัมต่อมิลลิลิตร มีค่าเลขการดูดซับไอโอดีนสูงสุดและพื้นที่ผิวเท่ากับ 251.67 มิลลิกรัมต่อกรัม และ 254.49 ตารางเมตรต่อกรัม ตามลำดับ จากผลที่ได้ทำให้ค่าการดูดซับไอโอดีนและพื้นที่ผิวเพิ่มมากขึ้นถึง 106 และ 200 เท่า ตามลำดับ เมื่อเทียบกับถ่านที่ยังไม่ได้ผ่านการกระตุ้น
Article Details
ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารทั้งหมด รวมถึงรูปภาพประกอบ ตาราง เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็น รูปภาพ ตาราง ของบทความไปจัดพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการวารสารอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
มหาวิทยาลัยฯ อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยต้องแสดงที่มาจากวารสารและไม่ใช้เพื่อการค้า
ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ และบุคลากร คณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯแต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการ
References
[2] Demirbas. A. (2008). Heavy metal adsorption onto agro-based waste materials: A review. Journal of hazardous materials, 157, 220-229.
[3] De Gisi, S., Lofrano, G., Grassi, M., & Notarnicola, M. (2016) Characteristics and adsorption capacities of low-cost sorbents for wastewater treatment: A review. Sustainable Materials and Technologies, 9, 10–40.
[4] Kyzas, G. Z., & Kostoglou, M. (2014). Green Adsorbents for Wastewaters: A Critical Review. Materials, 7, 364-333.
[5] Foo, K. Y., & Hameed, B. H. (2012). Porous structure and adsorptive properties of pineapple peel based activated carbons prepared via microwave assisted KOH and K2CO3 activation. Microporous and Mesoporous Materials, 148(1), 191-195.
[6] Mahamad, M. N., Zaini, M. A. A., & Zakaria, Z. A. (2015). Preparation and characterization of activated carbon from pineapple waste biomass for dye removal. International Biodeterioration & Biodegradation, 102, 274-280.
[7] Mopoung, S., & Amornsakchai. P. (2016). Microporous activated carbon fiber from pineapple leaf fiber by H3PO4 activation. Asian journal of scientific research, 9, 24-33.
[8] González-García, P. (2018). Activated carbon from lignocellulosics precursors: A review of the synthesis methods, characterization techniques and applications. Renewable and Sustainable Energy Reviews, 82, 1393-1414.
[9] Mohan, D., Singh, K. P., & Singh, V. K. (2008). Waste water treatment using low cost activated carbons derived from agricultural byproducts—A case study. Journal of hazardous materials, 152, 1045–1053.
[10] Ceyhan, A. A., Şahin, Ö., Baytar, O., & Saka, C. (2013). Surface and porous characterization of activated carbon prepared from pyrolysis of biomass by two-stage procedure at low activation temperature and it's the adsorption of iodine. Journal of Analytical and Applied Pyrolysis, 104, 378-383.
[11] Şahin, Ö., Saka, C., Ceyhan, A. A., & Baytar, O. (2016). The pyrolysis process of biomass by two-stage chemical activation with different methodology and iodine adsorption. Energy Sources, Part A: Recovery, Utilization, and Environmental Effects, 38(12), 1756-1762.