การเพิ่มประสิทธิภาพ Feature Selection สำหรับการจำแนกกลุ่มบทความวิจัย

ผู้แต่ง

  • ญาณพัฒน์ ชูชื่น

คำสำคัญ:

การทำเหมืองข้อมูล การเลือกคุณลักษณะ การจำแนกข้อมูล

บทคัดย่อ

เทคนิคเหมืองข้อมูลในปัจจุบันมีบทบาทสำคัญกับการประมวลผลข้อมูล การสกัดข้อมูล และการสืบหาสารสนเทศ ด้วยการจำแนกข้อมูลถือเป็นเทคนิคที่ได้รับความนิยม ด้วยการสร้างต้นแบบการจำแนกมีข้อจำกัดของประสิทธิภาพ การเลือกคุณลักษณะ (Feature Selection) ด้วยหลักการทางสถิติแบบ Information Gain สำหรับตัดคุณลักษณะที่มีค่าน้ำหนักน้อย ที่เลือกมาประยุกต์กับการจำแนกข้อมูล Naïve Bayes และ Decision Tree เพื่อคัดแยกกลุ่มบทความวิจัย จากกรณีศึกษา งานประชุมวิชาการเครือข่ายด้านวิทยาศาสตร์ภาคใต้ครั้งที่ 4 จำนวน 177 บทความวิจัย แบ่ง 4 สาขา ได้แก่ ด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ และด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้ค่าความถูกต้องสูงสุดที่ 84% ด้วยการจำแนกแบบ Naïve Bayes ที่มีการเลือกคุณลักษณะค่าน้ำหนัก 0.03 ให้ค่าคุณลักษณะจำนวน 444 คำ แต่การจำแนกแบบ Decision Tree ให้ค่าความถูกต้องที่ 60% ที่จำนวนคุณลักษณะ 9 คำ ด้วยค่าน้ำหนักการเลือกคุณลักษณะ 0.20 โดยสรุปการเลือกคุณลักษณะร่วมกับการจำแนกแบบ Naïve Bayes ให้ต้นแบบการจำแนกที่มีประสิทธิภาพดีกว่าด้วยชุดข้อมูลกรณีศึกษา

References

Kan Deng. (1998). OMEGA: ON-LINE MEMORY-BASED GENERAL PURPOSE SYSTEM CLASSIFIER. The Robotics Institute School of Computer Science Carnegie Mellon University Pittsburgh, PA 15213.

ก้องนาคินทร จรัญวุฒิวงศ และดวงรัตน โกยกิจเจริญ (2561). “การรับรูคุณภาพบริการที่สงผลตอการตัดสินใจเลือกใชบริการสายการบินตนทุนต่ำ ทาอากาศยานนานาชาติภูเก็ต.” ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 11. ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต, 739 – 746.

ธาดา หวังธรรมมั่ง เสกสรรสุวรรณมณี ธัชชัย เองฉ้วน และแสงสุรีย์ วสุพงศ์อัยยะ(2560). “การพัฒนาโปรแกรมช่วยจัดแผนการเลือกวิชาลงทะเบียนโดยใช้เทคนิคการ ค้นหาเฉพาะที่และรายการทาบู.” ใน วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ ปที่ 22, ฉบับที่ 2. สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ, 275 – 283.

นูรุลอีมาน เบ็งบูงอ ฮัสมะ เระดุมหลี กฤษณ์วรา รัตนโอภาส และยุพดี อินทส (2561). “การจําแนกโพสตเกมโดยใชเทคนิคเหมืองขอมูล : กรณีศึกษาการโพสต์บนเฟสบุ๊ค.” ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 11. ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต, 547 – 555.

เอกสิทธิ์ พัชรวงศ์ศักดา (2557). การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิคดาต้า ไมน์นิง เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เอเชีย ดิจิตอลการพิมพ์ จำกัด.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-09-13

How to Cite

ชูชื่น ญ. (2020). การเพิ่มประสิทธิภาพ Feature Selection สำหรับการจำแนกกลุ่มบทความวิจัย. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 1(1), 55–66. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/SciAndTechSkru/article/view/241696