อิวริสติกส์แบบสองเฟสสำหรับการจัดเส้นทางการขนส่ง:กรณีศึกษาร้านขายส่งขนมแห่งหนึ่งในจังหวัดกาฬสินธุ์

ผู้แต่ง

  • Anucha Sriburum Kalasin University
  • ไทยทัศน์ สุดสวนสี สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
  • วราภรณ์ วโรรส สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
  • อามิณฑ์ หล้าวงศ์ สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

คำสำคัญ:

อัลกอริทึมฟิชเชอร์แอนด์ไจคุมาร์ การจัดเส้นทางการขนส่ง ปัญหาการมอบหมายงานทั่วไป ปัญหาการเดินทางของพนักขาย

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้นำเสนอฮิวริสติก สำหรับการแก้ปัญหาการจัดเส้นทางการขนส่งแบบความจุของยานพาหนะจำกัด (Capacitated Vehicle Routing Problem, CVRP) ผู้วิจัยได้ประยุกต์ใช้อัลกอริทึมฟิชเชอร์แอนด์ไจคุมาร์  (Fisher and Jaikumar Algorithm, FJA) สำหรับการหาผลเฉลยของปัญหาการจัดเส้นทางการขนส่ง ซึ่งมีวัตถุประสงค์ระยะทางโดยรวมต่ำสุด โดยขั้นตอนของฮิวริสติก FJA ที่นำเสนอแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 กำหนดจุดที่ตั้งของยานพาหนะ (Seed) ขั้นตอนที่ 2 สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ปัญหาการมอบหมายงานทั่วไป (General Assignment Problem, GAP) เพื่อจัดสรรลูกค้าให้แต่ละกลุ่ม และขั้นตอนสุดท้าย จัดลำดับการขนส่งสินค้าให้แต่ละกลุ่ม โดยใช้แบบจำลองปัญหาการเดินทางของพนักขาย (Travelling Salesman Problem model, TSP Model) ผลการทดสอบพบว่า อัลกอริทึมที่นำเสนอให้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพอยู่ระดับที่ดี สามารถลดระยะทางขนส่งรวมจากเดิม 1,093.4 กิโลเมตร ลดลงเหลือ 766.15 กิโลเมตร คิดเป็น 29.93 %

References

รายงานโลจิสติกส์ของประเทศไทยประจำปี 2562, “สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,” [ออนไลน์]. ที่มา: https://www.nesdc.go.th/more_news.php?cid=717&filename=. ¬[วันที่ 16 กรกฎาคม 2564].

G. B. Dantzig and J.H.Ramser, “The truck dispatching problem,” Management Science., vol. 6, no. 1, pp. 80–91, 1959.

ณัฏฐ์ดนัย สุพัฒน์ธนานนท์. ปณัทพร เรืองเชิงชุม.

“การเลือกรูปแบบการกระจายสินค้าที่เหมาะสมด้วยตัวแบบกำหนดการเชิงเส้นผสมจำนวนเต็ม: กรณีศึกษาธุรกิจกระจายสินค้าเครื่องดื่ม,” วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี., ปีที่ 12, ฉบับที่ -, น. 37-50, 2563.

สุวิมล คำแสน. อธิวัฒน์ บุญมี. อัมภิกา บุญมี,

“การวางแผนเส้นทางการเยี่ยมชมจุดท่องเที่ยวภายใต้เงื่อนไขด้านกรอบเวลาโดยประยุกต์ใช้วิธีเชิงพันธุกรรม: กรณีศึกษาเมืองจำลอง จังหวัดชลบุรี,” วารสารไทยการวิจัยดำเนินงาน., ปีที่ 6, ฉบับที่ 1, น. 1-12, 2561.

นรงค์ วิชาผา. ไทยทัศน์ สุดสวนสี. พรเทพ ขอขจายเกียรติ, “การแก้ปัญหาการจัดเส้นทางการขนส่งแบบมีกรอบเวลาโดยใช้วิธีเชิงพันธุกรรมแบบผสมผสานด้วยฮิวริสติกแบบแทรกไปข้างหน้าและวิธีการค้นหาคำตอบเฉพาะ,” วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ., ปีที่ 29, ฉบับที่ 1, น. 4-13, 2562.

T.Sultana, M. A. H. Akhand and M. M. Hafizur Rahman, “A variant fisher and Jaikuamr algorithm to solve capacitated vehicle routing problem,” in 8th International Conference on Information Technology (ICIT), Jordan, 2017.

P. Hokama, F. K. Miyazawa and E. C. Xavier, “A branch – and – cut approach for the vehicle routing problem with loading constraints,” Expert Systems With Applications., vol. 47, pp. 1-13, 2016.

J. Oppen, A. løkketangen and J. Desrosiers, “Solving a rich vehicle routing and inventory problem using column generation,” Computer & Operations Research., vol. 37, no. 7, pp. 1308 -1317, 2010.

Y. Yu and et al, “A branch -and-price algorithm for the heterogeneous fleet green vehicle routing problem with time windows,” Transportation Research Part B., vol. 122, pp. 511-527, 2019.

Marshall L. Fisher and Ramchandran Jaikumar, “A generalized assignment heuristic for vehicle routing,” Networks An International journal., vol. 11, no. 2, pp. 109–124, 1981.

N.Wichapa, P.Khokhajaikiat, “Solving a multi-objective location routing problem for infectious waste disposal using hybrid goal programming and hybrid genetic algorithm,” International Journal of Industrial Engineering Computations., vol. 9, no. 1, pp. 75–98, 2018.

W.Chowmalia and S.Suktoa, “A novel two-phase approach for solving the multi-compartment vehicle routing problem with a heterogeneous fleet of vehicles: a case study on fuel delivery,” Decision Science Letters., vol. 9, no. 1, pp. 70–90, 2020.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-18

How to Cite

[1]
A. Sriburum, สุดสวนสี ไ. ., วโรรส ว. ., และ หล้าวงศ์ อ. ., “อิวริสติกส์แบบสองเฟสสำหรับการจัดเส้นทางการขนส่ง:กรณีศึกษาร้านขายส่งขนมแห่งหนึ่งในจังหวัดกาฬสินธุ์ ”, TJOR, ปี 10, ฉบับที่ 1, น. 16–28, มิ.ย. 2022.