การแก้ปัญหาการวางแผนเส้นทางท่องเที่ยวในซาฟารีเวิลด์ด้วยขั้นตอนวิธีฮังกาเรียนและขั้นตอนวิธีแบบละโมบ

ผู้แต่ง

  • ณดล อ้วนสะอาด ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานและพลศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • อาทิติยา นิลเพชร ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานและพลศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • ดร.กรณ์พงศ์ ชลศิริพงษ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐานและพลศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

คำสำคัญ:

ซาฟารีเวิลด์, ปัญหาการจัดสรรงาน, ขั้นตอนวิธีแบบละโมบ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาเส้นทางที่สั้นที่สุดที่ใช้ในการท่องเที่ยวชมสัตว์ และเข้าชมการแสดงทุกการแสดงในซาฟารีเวิลด์ การแก้ปัญหาของการหาเส้นทางที่สั้นที่สุดได้ประยุกต์ใช้ปัญหาการจัดสรรงานและขั้นตอนวิธีละโมบ ในขั้นแรกปัญหาการจัดสรรงานถูกใช้เพื่อกำหนดลำดับการเข้าชมการแสดงหลังจากนั้นวิธีการละโมบถูกนำมาใช้เพื่อหาเส้นทางที่สั้นที่สุดในการชมสัตว์ งานวิจัยได้ผลลัพธ์เส้นทางที่สั้นที่สุดที่มีระยะทางรวม 7.578 กิโลเมตร โดยเริ่มการท่องเที่ยวเวลา 9.00 น. และสิ้นสุดการท่องเที่ยวเวลา 16.48 น.

References

G. N. Frederickson, M. S. Hecht and C. E. Kim, "Approximation algorithms for some routing problems", in 17th Annual Symposium on Foundations of Computer Science, United State, 1976.

O. Michail and P. G. Spirakis, “Traveling salesman problems in temporal graphs,” Theoretical Computer Science., Vol. 634, pp. 1-23, 2016.

O. Pedro, R. Saldanha and R. Camargo, “A Tabu search approach for the prize collecting traveling salesman problem,” Electronic Notes in Discrete Mathematics., Vol. 41, pp. 261-268, 2013.

X.H. Shi, Y.C. Liang, H.P. Lee, C. Lu and Q.X. Wang, “Particle swarm optimization-based algorithms for TSP and generalized TSP,” Information Processing Letters., Vol. 103, no. 5, pp. 169-176, 2007.

X. Geng, Z. Chen, W. Yang, D. Shi and K. Zhao, “Solving the traveling salesman problem based on an adaptive simulated annealing algorithm with greedy search,” Applied Soft Computing., Vol. 11, no. 4, pp. 3680-3689, 2011.

C. Murat and A. Ekici, “Solving a modified TSP problem by a Greedy heuristic for cost minimization,” International Journal of Modeling and Optimization., Vol. 8, no. 3, pp. 138-144, 2018.

ธัญภัส เมืองปัน, ฐิติมา วงศ์อินตา, และ เทอดพงศ์ เมืองปัน, “กรอบแนวคิดการจัดเส้นทางสายตรวจรถจักรยานยนต์ :กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเสม็ด จังหวัดชลบุรี,” วารสารการขนส่งและโลจิสติกส์., ปีที่ 1, ฉบับที่ 9, น. 30-42, 2559.

วิรัลพัชร สว่างญาติ, “การเปรียบเทียบ 3 วิธี ในการออกแบบเส้นทางท่องเที่ยว กรณีศึกษาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา,” วารสารรังสิตบัณฑิตศึกษาในกลุ่มธุรกิจและสังคมศาสตร์., ปีที่ 4, ฉบับที่ 2, น. 64-77, 2561.

D. Gavalas, C. Konstantopoulos, K.Mastakas, G. Pantziou and N. Vathis, “Heuristics for the time dependent team orienteering problem: application to tourist route planning,” Computers & Operations Research., Vol. 62, pp. 36-50, 2015.

T. Tlili and S. Krichen, “A simulated annealing-based recommender system for solving the tourist trip design problem,” Expert Systems with Applications., Vol. 186, no. 2, 2021.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-20

How to Cite

[1]
อ้วนสะอาด ณ. ., นิลเพชร อ. ., และ ชลศิริพงษ์ ด. ., “การแก้ปัญหาการวางแผนเส้นทางท่องเที่ยวในซาฟารีเวิลด์ด้วยขั้นตอนวิธีฮังกาเรียนและขั้นตอนวิธีแบบละโมบ”, TJOR, ปี 12, ฉบับที่ 1, น. 53–62, มิ.ย. 2024.

ฉบับ

บท

Research Paper (3 ผู้ประเมิน ตามเกณฑ์การขอตำแหน่งวิชาการ)