ชุดฝึกอบรมการสกัดสารชีวภาพจากพืชสมุนไพรว่านหางจระเข้บาบัดอาการปวดแผลแสบร้อน สาหรับกลุ่มผู้สูงอายุ ตาบลท่างาม อาเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี

ผู้แต่ง

  • ธัชกฤต ศิรชินภัทร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • ทศพร แสงสว่าง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คำสำคัญ:

ชุดฝึกอบรม, สารสกัดชีวภาพ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดฝึกอบรมการสกัดสารชีวภาพจากพืชสมุนไพรว่านหางจระเข้บำบัดอาการปวดแผลแสบร้อน สำหรับกลุ่มผู้สูงอายุ ตำบลท่างาม อำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียน 3) เพื่อหาความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่ได้ใช้ชุดฝึกอบรมการสกัดสารชีวภาพจากพืชสมุนไพรว่านหางจระเข้ บำบัดอาการปวดแผลแสบร้อน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นผู้สูงอายุในจังหวัดสิงห์บุรี จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ชุดฝึกอบรมการสกัดสารชีวภาพจากพืชสมุนไพรว่านหางจระเข้ บำบัดอาการปวดแผลแสบร้อน แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่มีต่อชุดฝึกอบรมการสกัดสารชีวภาพจากพืชสมุนไพรว่านหางจระเข้ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ชุดฝึกอบรมการสกัดสารชีวภาพจากพืชสมุนไพรว่านหางจระเข้ บำบัดอาการปวดแผลแสบร้อน มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์โดยเฉลี่ยเท่ากับ 81.33/83.50 ผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนของนักเรียนหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนโดยมีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 14.00 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. เท่ากับ 2.68 ค่าคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 25.05 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน S.D. เท่ากับ 1.92 และความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่มีต่อชุดฝึกอบรมการสกัดสารชีวภาพจากพืชสมุนไพรว่านหางจระเข้ บำบัดอาการปวดแผลแสบร้อน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.09 อยู่ในระดับมาก

References

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย. (2551). คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยวิถีแพทย์แผนไทยสาหรับประชา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

กระทรวงสารธารณสุข. (2009). “ประวัติการแพทย์แผนไทย”. สืบค้นวันที่ 28 มกราคม 2557. จาก http://www. rayongwit. net/library/sara/doctor/index.htm.

กองควบคุมยา. (2544). คู่มือความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาจากสมุนไพร. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยากระทรวงสาธารณสุข.

กาญจนา ศิริเจริญวงศ์ และคณะ. (2543). การใช้สมุนไพรของผู้ติดเชื้อเอดส์และผู้ป่วยโรคมะเร็ง. ชลบุรี : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

โกวิทย์ กังสนันท์. (2534). การประเมินความจาเป็นของการฝึกอบรมสำหรับองค์กร. (ม.ป.ท.). พัฒนบริหาร

เครือวัลย์ ลิ่มอภิชาติ. (2531) หลักและเทคนิคการจัดฝึกอบรมและการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : สยามศิลป์.

ชมนาด พงศ์นพรัตน์. (2526). การสร้างชุดฝึกอบรม. กรุงเทพมหานคร : สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือนสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน.

ชัยยงค์ พรหมวงษ์ และคณะ. (2520). ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพมหานคร : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย

______. (2540). เอกสารการสอนชุดวิชาสื่อการศึกษาพัฒนสรร หน่วยที่ 1 - 5. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

_______. (2545). เอกสารการสอนชุดวิชาสื่อการระดับประถมศึกษา หน่วยที่ 8 - 15 (พิมพ์ครั้ง ที่ 20). กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

_______. (2556). วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย (ปีที่ 5 ฉบับที่ 1). (ม.ป.ท.). มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ใจกลั่น นาวาบุญนิยม. (2549). การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การปลูกผักไร้สารพิษตามแนวคิดวิถีพุทธ สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดชุมชนชาวอโศก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม.

ชัยรัตน์ พัฒนเจริญ และคณะ. (2539). การพัฒนานโยบายและแผนสาธารณสุขมูลบานในประเทศไทย. ขอนแก่น : ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการสาธารณสุขมูลฐาน.

ไชยวัฒน์ ไชยสุต. (2553). น้าหมักชีวภาพ. (ม.ป.ท). ศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสังคม สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.

ณรงค์ศักดิ์ สุมาลย์โรจน์. (2534). นักบริหารกับการรักษาสุขภาพ. กรุงเทพมหานคร : สายใจ.

ดรุณ เพ็ชรพลาย. (2539). การศึกษาชื่อพฤกษศาสตร์ของสมุนไพรในตำรายาแผนโบราณ. (ม.ป.ท.). วารสารกระทรวงสาธารณสุข.

ถวิล เนตรวงษ์. (2547). การพัฒนาชุดฝึกอบรมครูการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระที่ 2) ชั้นประถมปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ทะนง ทองเต็ม. (2514). ประเภทของการฝึกอบรม. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต.

ทองฟู ศิริวงศ์. (2536). การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคลากร. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.

ทัศนีย์ สิงห์เจริญ. (2542). การฝึกอบรม. ประจวบคีรีขันธ์ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตไกลกังวล.

เทียน นารินทร์ทอง. (2538). กระบวนการเรียนรู้ทางสังคมที่ส่งผลต่อการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนชนบทภาคเหนือตอนบน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นราทิพย์ พุ่มทรัพย์. (2537). การประเมินโครงการอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิตข้าราชการกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

น้อย ศิริโชติ. (2524). เทคนิคการฝึกอบรม. กรุงเทพมหานคร : พระพีชนา.

นันทวรรณ บุญยะประภัศร. (2539). สมุนไพรพื้นบ้าน. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหิดล. นาพร อินสิน. (2555). สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน. สกลนคร : มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร.

นิจศรี เรืองรังสี และพะยอม ตันติวัฒน์. (2534). พืชสมุนไพร. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.

นิพนธ์ ศุขปรีดี. (2537). ประมวลสาระชุดวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการฝึกอบรม หน่วยที่ 8 – 11. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2542). นวัตกรรมการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

บุญชม ศรีสะอาด. (2537). การพัฒนาการสอน. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาร์ส.

_______. (2545). หลักการวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร : ชมรมเด็ก.

ประทีป ตันติเวช. (2544). การสร้างชุดการฝึกอบรมเรื่องขยะและน้าเสียให้กับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดเพชรบุรี. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ประยูร บุญใช้. (2544). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดประสบการณ์การเรียนรู้สื่อกลาง เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาของนักศึกษาในสถาบันราชภัฎ. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ผการัตน์ พู่กลั่น. (2549). เรื่องการพัฒนาชุดฝึกอบรม วิชานวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา. วิทยานิพนธ์. ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปกร.

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (2542 ). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร : นามมีบุคพลับลิชชิ่ง.

พร้อมพรรณ อุดมสิน. (2544). การวัดและการประเมินผลการเรียนการสอนคณิตศาสตร์. (ม.ป.ท.). กรมสุขภาพจิต.

พร อรัญเวทย์. (2550). การฝึกอบรมสมุนไพรพื้นบ้านของแกนนำสุขภาพประจาครอบครัว ตำบลโคกสะอาด อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2543). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2537). ประมวลชุดวิชาเทคโนโลยีและการสื่อสารการฝึกอบรม. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง. (2554). การพัฒนากระบวนการแปรรูปเพื่อยกระดับคุณภาพและความปลอดภัยของสับปะรดตัดแต่งพร้อมบริโภคในจังหวัดเชียงราย. สำนักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.

ยิ่งยง เทาประเสริฐ. (2538). ความรู้ในการใช้สมุนไพร. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ระพินทร์ โพธิ์ศรี. (2549). สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รังสรรค์ ชุณหวรากรณ์. (2545). สมุนไพร. นนทบุรี : โรงเรียนเบญจมราชานุสรณ์. รุจินาถ อรรถสิษฐ และคณะ. (2537). สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐานสำหรับบุคลากรสาธารณสุข สำนักงานคณะกรรมการสาธารณสุขมูลฐาน. สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร : องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2531). หลักการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ศึกษาพร.

วนิดา วิระกุล และถวิล เลิกชัยภูมิ. (2542). การศึกษารูปแบบและระบบการพัฒนาการเรียนรู้และระดับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพตนเองของแกนนำสุขภาพประจำครอบครัวตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น : ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการสาธารณสุขมูลฐานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.

วัชรา สามาลย์. (2545). การพัฒนาชุดฝึกอบรมการวิจัยชั้นเรียน เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยชั้นเรียนและการวิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศิลปกร.

วาสนา ทวีกุลทรัพย์ และศันสนีย์ สังสรรค์อนันต์. (2554). การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง การผลิตชุดการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางสำหรับครู. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วิจิตร อาวะกุล. (2540). การฝึกอบรม. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิชัย โชควิวัฒน์ และคณะ. (2547). คู่มือประชาชนในการดูแลสุขภาพด้วยแพทย์แผนไทย.กรุงเทพมหานคร : องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

วิชัย วงษ์ใหญ่. (2527). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการสอน - ภาคปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิน เชื้อโพธิ์หัก. (2537). การพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์.

ศรีสมร คงพันธ์. (2542). ผักพื้นบ้านอาหารพื้นเมืองเสริมสุขภาพยุคชีวิตเร่งรีบ. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริพรรณ สายหงษ์ และสมประสงค์ วิทยเกียรติ ) . 2534 .( เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาและการใช้สื่อการศึกษานอกระบบ หน่วยที่ 9 . (ม.ป.ท.). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สารีพันธุ์ ศุภวรรณ และชนกนารถ บุญวัฒนะกุล. (2556). ชุดฝึกอบรมทางไกลการเตรียมความพร้อมของวัยผู้สูงอายุก่อนวัยเกษียณอายุ. (ม.ป.ท.). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2543). คู่มือผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อเศรษฐกิจชุมชน. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข.

สำนักงานเศรษฐกิจและการเกษตร. (2549). ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร 2549 และแนวโน้มปี 2550. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2552). การสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน 2552. (ม.ป.ท.). สำนักสถิติพยากรณ์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ.

สุขณภา สาเนียงสูง. (2546). การพัฒนาชุดฝึกอบรม เรื่อง สิ่งแวดล้อมชุมชน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุเทพ หุ่นสวัสดิ์. (2540). การพัฒนาชุดฝึกอบรมเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคเอดส์สาหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพในวิทยาลัยเทคนิค. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุภาพร พิศาลบุตร และยงยุทธ เกษสาคร. (2544). การพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม. กรุงเทพมหานคร : วี.เจ.พริ้นติ้ง.

สมาน นิ่มนวล และรุ่งนภา ยศตื้อ. (2542). การพัฒนารูปแบบการพึ่งตนเองด้านสุขภาพอนามัย ระดับครอบครัว จังหวัดลาปาง. (ม.ป.ท.). สาธารณสุขมูลฐานภาคเหนือ.

สุมณฑา วงศ์เงิน. (2544). การประเมินโครงการฝึกอบรมการพัฒนาบุคลากรสาธารณสุข หลักสูตรสมุนไพรกับการสาธารณสุขมูลฐาน ของสำนักงานคณะกรรมการสาธารณสุขมูลฐานกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์.

สุมนต์ทิพย์ คงตัน. (2548). สมุนไพรยาไทยที่ควรรู้ (พิมพ์ครั้งที่ 2). วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์. กรุงเทพมหานคร : (ม.ป.พ.).

อมร รักษาสัตย์. (2514). การบริหารงานบุคคลในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อรัญญา มโนสร้อย และคณะ. (2549). การรวบรวม เลือกสรร และปริวรรตคัมภีร์และตารายาสมุนไพรล้านนา. กรุงเทพมหานคร : สถาบันการแพทย์แผนไทยกรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข.

อรุณ รักธรรม. (2537). การพัฒนาและการฝึกอบรมบุคคล ศึกษาเชิงพฤติกรรม. กรุงเทพมหานคร : เอเอส แอนด์ จี กราฟฟิค.

Harbison and Mayers. (1964). Education Manpower and Economic Growth Stradgics of Human Resource Development. New York : Mc Graw Hill.

Good. (1973). Dictionary of Education (3rded). New York : McGraw-Hill.

Nadler and Leonard. (1970). Designing Training Program : The Critical Event Model. Massachseus.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2016-06-23