พฤติกรรมด้านคุณธรรมของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา อำเภอบ้านนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก
คำสำคัญ:
พฤติกรรมด้านคุณธรรม, ประสิทธิผลของสถานศึกษาบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับพฤติกรรมด้านคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอบ้านนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก 2) ระดับประสิทธิผลของสถานศึกษา อำเภอบ้านนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมด้านคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา อำเภอบ้านนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอนอำเภอบ้านนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก จำนวน 175 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามแบบมาตรวัดประเมินค่า (Rating Scale) 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับพฤติกรรมด้านคุณธรรมของผู้บริหาร อยู่ในระดับมากทั้งโดยรวมและรายด้าน 2) ระดับประสิทธิผลของสถานศึกษา อยู่ในระดับมากทั้งโดยรวมและรายด้าน และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมด้านคุณธรรมกับประสิทธิผลของสถานศึกษา อำเภอบ้านนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก มีความสัมพันธ์อยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
References
______. (2547). ข้อเสนอยุทธศาตร์การปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.
คำพัน บุญยืด. (2547). พฤติกรรมทางด้านคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 1. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จีรวิทย์ นิยมธรรม. (2545). สภาพและความคาดหวังพฤติกรรมด้านคุณธรรมของผู้บริหารโรงเรียนตามทัศนะของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสระแก้ว. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ณรงศักดิ์ เหมือนชาติ. (2547). ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้อานาจในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
ทองย่อม สาครสูงเนิน. (2548). การศึกษาพฤติกรรมการบริหารด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ธีระ รุญเจริญ. (2553). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษา ยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ข้าวฟ่าง.
บุญร่วม คิดการ. (2542). การปฏิบัติตามคุณธรรมของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา ตามทัศนะของครูประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดนครพนม. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ยุวดี ศรีพรหมษา. (2552). การดำเนินงานเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมนักเรียน โรงเรียนบ้านภูตะคาม อำเภอส่องดาว จังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
วิจลน์ โกษาแสง. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาของผู้บริหารโรงเรียนกับประสิทธิผลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครพนม เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษามหาบัณฑิต. มหาวิทยาราชภัฎนครพนม.
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2544). โรงเรียนองค์การแห่งการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร : ทิพยวิสุทธิ์.
สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2541). ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เล่มที่ 2 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหาร. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.
สุเนตร ทองคา. (2544). พฤติกรรมด้านคุณธรรมของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อนันตชัย พงศ์สุวรรณ. (2547). การบริหารการศึกษาในคลื่นความเปลี่ยนแปลง. (พิมพ์ครั้งที่ 2). บุรีรัมย์ : วินัย.
อาคม วัดไธสง. (2547). หน้าที่ผู้นำในการบริหารการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : กลุ่มงานบริการการศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ.
อำภา ปิยารมย์. (2549). การศึกษาภาวะผู้นำกับประสิทธิผล สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.
Carroll, D.F.O. (1992). “Teacher Morale as Related to School Leadership Behavior Morale, Leadership Behaviors”. Dissertation Abstracts International.
Cronbach, L.J. (1990). Essentials of Psychological Testing. (5th ed.). New York : Harper Collins.
Hoy, W.K. & Miskel, C.G. (2001). Education Administration Theory, Research, and Practice. (7th ed.). Mcgraw-Hill.
_______. (2005). Educational Leadership and Reform. Greenwich, CT : Information Age.
Hoy, W.K., & Ferguson, J. (1985). A Theoretical Framework and Exploration of Organizational Effectiveness of School. Education Administrator Quarterly.
Jackson-Malik, Pamela J. (2005). Organizational Climate and Hospital Nurses Job Satisfaction, Burnout, and Indent to Leave. Doctoral Dissertation. University of Pennsylvania.
Sergiovanni, H.B. (2001). Leadership for Effectiveness School. Boston : Allyn and Bacon.
Smith, H.B. (1974). “Description of Effective and Ineffective Behavior of school Principals”. Dissertation Abstracts International. 48(3) : 1935–A.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว