วงจรกรองความถี่แถบผ่านย่านไมโครเวฟเพื่อการสื่อสารไร้สายสมัยใหม่
คำสำคัญ:
วงจรกรองความถี่แถบผ่าน, ไมโครสตริป, ย่านไมโครเวฟ, การสื่อสารไร้สายสมัยใหม่บทคัดย่อ
บทความนี้กล่าวถึง วงจรกรองความถี่แถบผ่านย่านไมโครเวฟบนโครงสร้างระนาบเพื่อการสื่อสารไร้สายสมัยใหม่ จากการศึกษาพบว่ารูปแบบของเรโซเนเตอร์สามารถจำแนกออกได้เป็น 5 รูปแบบหลัก คือ เรโซเนเตอร์เส้นตรง เรโซเนเตอร์อิมพีแดนซ์ขั้น เรโซเนเตอร์อินเตอร์ดิจิตอล เรโซเนเตอร์รูปปิ่นปักผม และเรโซเนเตอร์วงแหวน โดยลักษณะทางกายภาพของเรโซเนเตอร์เหล่านั้นก็ได้ถูกแสดงไว้อย่างชัดเจนด้วยแล้ว นอกจากนี้ ยังได้มีนำเสนอวงจรกรองที่น่าสนใจมาแสดงในบทความนี้ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประสิทธิภาพของวงจรกรองที่ได้รับการปรับปรุง คือ ความกะทัดรัด แถบความถี่ผ่านที่ชัน และการกำจัดฮาร์มอนิกส์ที่ดีเยี่ยม
References
ประสิทธิ์ พันธุ์เกษตร. (2550). การพัฒนาและประสิทธิภาพเอกสารประกอบการเรียนการวาดภาพด้วยสีน้ำ รายวิชาศิลปะทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ 31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. ผลงานทางวิชาการ. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.
ชวันรัตน์ สุอริยพงษ์. (2550). การรายงานวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้สื่อเอกสารประกอบการเรียนเล่มสาระการเรียนรู้ศิลปะชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. มุกดาหาร : โรงเรียนหว้านใหญ่วิทยา
ชาญรงค์ พรรุ่งโรจน์. (2543). การวิจัยทางศิลปะ. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บุญชม ศรีสะอาด.(2546). การวิจัยสำหรับครู. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น.
พรนิภา ซาเกิม. (2550). การพัฒนาเอกสารประกอบการเรียน สาระทัศนศิลป์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. ผลงานทางวิชาการ. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.
เลิศ อานันทนะ. (2523). ศิลปะในโรงเรียน. กรุงเทพมหานคร : ศึกษิตสยาม.
วราภรณ์ รักวิจัย (2535). กิจกรรมสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย. เอกสารประกอบการสอน ว 531.
กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
วิเชียร วุฒินาคธรรม. (2550). รายงานการศึกษาเอกสารประกอบการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระที่ 1ทัศนศิลป์สำหรับนักเรียนนั้นประถมศึกษาปีที่ 3. ผลงานทางวิชาการ. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.
อารี พันธ์มณี. (2545) ฝึกให้คิดเป็นคิดให้สร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : ใยไหม เอดดูเคท.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว