ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแทนแรงงานมนุษย์ ของอุตสาหกรรมยานยนต์ในจังหวัดระยอง
คำสำคัญ:
ปัจจัย, หุ่นยนต์อุตสาหกรรม, อุตสาหกรรมยานยนต์บทคัดย่อ
ปัจจุบันการอุตสาหกรรมยานยนต์มีการใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมมาช่วยในการผลิต การวิจัยนี้จุดประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแทนแรงงานมนุษย์ของอุตสาหกรรมยานยนต์ ในจังหวัดระยอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงานระดับหัวหน้างาน ในอุตสาหกรรมยานยนต์ ในจังหวัดระยอง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการสำรวจจำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Anova และวิเคราะห์ความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วย Scheffe Analysis การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติใช้โปรแกรม SPSS และกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแทนแรงงานมนุษย์ ของอุตสาหกรรมยานยนต์ในจังหวัดระยอง โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาตามรายข้อ พบว่า ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแทนแรงงานมนุษย์ ของอุตสาหกรรมยานยนต์ในจังหวัดระยอง ให้ความสำคัญกับปัจจัยในด้านความต้องการ การใช้หุ่นยนต์ในอุตสาหกรรมยานยนต์ และด้านการจัดการหลังจากการเลือกซื้อและการนำมาใช้เป็นอับดับหนึ่ง และรองลงมา ได้แก่ ด้านการตัดสินใจซื้อหุ่นยนต์มาใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์ ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพมหานคร : เอส.อาร์. พริ้น ติ้ง แมสโปรดักส์.
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. (2558). คู่มือการจัดทำ�วิทยานิพนธ์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
สินธุ์ชัย ธรรมยศ (2551). “การใช้เครื่องจักรกลการเกษตรของเกษตรกรผู้ทำ�นาในจังหวัดปทุมธานี”. สืบค้น ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560. จาก http://www.oie.go.th/sites/default/files/attachments/study_report/Agricultural%20Machinery-Feb2554.pdf.
สุเนตรตรา จันทบุรี. (2016). “ไทยมีศักยภาพสูงสุดในอาเซียน”. สืบค้นวันที่ 24 พฤษภาคม 2016 จาก http://www.aseanthai.net.
สำ�นักงานประกันสังคมกระทรวงแรงงานจังหวัดระยอง. (2559). “สถิติการประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำ�งาน”. สืบค้นวันที่ 7 ธันวาคม 2559. จาก http://www.sso.go.th/wpr/category.jsp?cat=801.
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (2554). “อุตสาหกรรมเครื่องจักรลการเกษตร”. สืบค้นวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2560. จาก http://www.oie.go.th/sites/.
ระบบสถิติทางการทะเบียน, กรมการปกครอง. (2560). “สถิติจำนวนประชากรและบ้าน ณ ฐานข้อมูลปัจจุบัน จังหวัดระยอง”. สืบค้นวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2560. จาก www.stat.dopa.go.th. สืบค้น ณ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2560.
องอาจ อุดมทีฆะศิริ. (2547). สภาพการใช้เครื่องจักรกลการเกษตรของเกษตรกรในจังหวัดนครนายก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อรรถพล ธนวรกุล. (2553). กระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าอุตสาหกรรมและผู้ที่มีอำนาจในการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ Chlorinated Paraffin. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Blue Update Edition. (2014). “แนวโน้มของอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์”. สืบค้นวันที่ 7 ธันวาคม 2559. จาก http://tools-article.sumipol.com/the-automotive-manufacturing-outlook-2010-roundup-and-what-lies-ahead/.
Dr. Debasis Ray and Dr. Sayantani Roy Choudhury. (2015). [ELSEVIER]. “Factors Affecting Consumer Decision Making For Purchasing Selected Home Appliance Products Based On Market Segmentation-A Feedback Study of People Associated With Management Education”. Journal of Research in Business and Management. Vol.3 : 06 - 11.
Jagdish Sheth and Andrew Sobel. (2004). Customer Behavior: A Managerial Perspective. Irwin/McGraw Hill Distinguished Marketing Educator, American Marketing Association.
Khavinrut Rojsiridamrongkul and Pakdee Manahirunvet. (2015). [ELSEVIER]. “Factors Affecting Decision to Buy Electronic Components in Type of Capacitors of Electrical and Electronic Appliance Industrial Factories”. Veridian E-Journal, Silpakorn University. Vol.8/3 : 919 - 941.
Kotler, Philip. (2012). Marketing Management. Pearson Educationn. p. 25.
Maslow. (1996). Maslow’s Hierarchy of Needs. p. 40.
Ruth Mwikali and Stanley Kavale. (2012). [ELSEVIER]. “Factors Affecting the Selection of Optimal Suppliers in Procurement Management”. International Journal of Humanities and Social Science. Vol.2/14 : 189 - 193.
Schiffman, L. G. & Kanuk, L. L.(2007). Consumer influence and the diffusion of innovations: Aninternational perspective. Consumer behavior. Ninth Edition.New Jersey : Pearson Prentice Hall.
Tanja Lautiainen. (2015). [ELSEVIER]. “Factors affecting consumers’ buying decision in the selection of a coffee brand”. Thesis2015.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว