การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การเลือกซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

Main Article Content

สุดารัตน์ สุขเจริญ
รศรงค์ พัฒนาอนุสรณ์
ลาวัณย์ ดุลยชาติ

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาบทเรียน e-Learning  2) เพื่อหาคุณภาพบทเรียน e-Learning และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อบทเรียน e-Learning เรื่อง การเลือกซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงานกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 จำนวน 30 คน โรงเรียนกุฉินารายณ์ ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่ายโดยวิธีการจับสลาก เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ บทเรียน e-Learning เรื่อง การเลือกซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงานแบบประเมินคุณภาพบทเรียน e-Learning และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ผลการวิจัยพบว่าได้ บทเรียน e-Learning เรื่อง การเลือกซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงานสำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่มีคุณภาพตัดสินโดยผู้เชี่ยวชาญ อยู่ในระดับมากที่สุด 3) และผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนด้วยบทเรียน e-Learning โดยรวมอยู่ในระดับมาก

Article Details

How to Cite
สุขเจริญ ส., พัฒนาอนุสรณ์ ร., & ดุลยชาติ ล. (2018). การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง การเลือกซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารวิชาการ "การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ", 1(2), 29–35. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/project-journal/article/view/152658
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. พิมพ์ที่โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์แห่งประเทศไทย
จำกัด. กรุงเทพฯ. คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2541, น. 33-49)
จตุรงค์ ตรีรัตน์. (2554). การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิ่งวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนภัทรญาณวิทยา
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2552 : 18-19). ทฤษฎีการการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism Theory)
นฤมล นวลผกา. (2554). การพัฒนาบทเรียน e-learning วิชาคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจวิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
พงษ์ศักดิ์ ด่วนดี. (สัมภาษณ์). การจัดการเรียนการสอนรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 17/12/2556.
พิสณุ ฟองศรี. (2554). วิจัยชั้นเรียนหลักการและเทคนิคปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 9 กรุงเทพฯ : บัณฑิตด่านสุทราการพิมพ์ จำกัด.
มนต์ชัย เทียนทอง. (2545). เทคโนโลยีการศึกษาทางไกล. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
วิลาชินณ์ ประคัลภ์พงศ์. (2554). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์บนระบบอีเลิร์นนิ่งเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นวิชาเทคโนโลยี
และคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่2
วรัณศณางค์ บุณฑริก. (2554). การพัฒนาบทเรียน e-Learning วิชาคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียน e-Learning
วิชาคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.รายงานการวิจัยสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
อัญปารย์ ศิลนิลมาลย์. (2558). การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบของ ADDIE.
อิราวรรส พูนผล. (2555) การพัฒนาบทเรียน E-learning วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
Hindes. (Hindes M.A. 2011:3). การค้นข้อมูลออนไลน์เพื่อเป็นการสนับสนุนให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการค้นคว้าข้อมูลข่าวสาร (วันที่สืบ
ค้น สืบค้น 29 พฤษภาคม ‎2557)
Matthew; Kathryn; and Gita Varagoor. (2001). Student Responses to Online Course