บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสอดแทรกการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง ใบโบก ใบบัว สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กรณีศึกษา : โรงเรียนบ้านแซวประดู่

Main Article Content

ทิตาวีร์ อนันต์
ศิโรรัตน์ กุลวงศ์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสอดแทรกการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง ใบโบก ใบบัว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ 2) ศึกษาความพึงพอใจในการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสอดแทรกการ์ตูนแอนิเมชัน กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านแซวประดู่ จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสอดแทรกการ์ตูนแอนิเมชัน..2..มิติ เรื่อง ใบโบก ใบบัว แบบประเมินความเหมาะสมของบทเรียน แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


            ผลการวิจัยพบว่า 1 ) บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสอดแทรกการ์ตูนแอนิเมชัน 2  มิติ เรื่อง ใบโบก ใบบัว ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้จำนวน 5 สาระ และแบบทดสอบจำนวน 20 ข้อ โดยมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก และ 2) ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยบทเรียนโดยรวมอยู่ในระดับมาก

Article Details

How to Cite
อนันต์ ท., & กุลวงศ์ ศ. (2018). บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสอดแทรกการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เรื่อง ใบโบก ใบบัว สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กรณีศึกษา : โรงเรียนบ้านแซวประดู่. วารสารวิชาการ "การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ", 2(1), 49–59. สืบค้น จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/project-journal/article/view/152767
บท
บทความวิจัย

References

ปรีชา ดีด้วยชาติ.(2553). บทเรียนช่วยสอนออนไลน์สำหรับเด็กอนุบาล สอดแทรกการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ. โครงการ วท.บ. (เทคโนโลยีสารสนเทศ). บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
ปานฤทัย สิทธิราษฎร์.(2552). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง Present Simple Tense และ Past Simple Tense ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ กศ.บ
(ศิลปะและการออกแบบสื่อ). เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
เพ็ญนภา ฤทธิ์วงศ์. (2551). การเรียนรู้เรื่องผักและผลไม้โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สำหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2. วท.ม.(สาธารณสุขศาสตร์).กรุงเทพฯ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัย
มหิดล.
วุฒิชัย ประสารสอย.(2547). บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนวัตกรรมเพื่อการศึกษา.(พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด วี.เจ.พริ้นติ้ง.
สุรีรัตน์ ทิพย์ประเสริฐ.(2552). การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย 2 มิติ เรื่อง กายวิภาคศาสตร์เต้านมโค. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. (พิมพ์ครั้งที่3). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
สกสค.ลาดพร้าว.
พิสุทธา อารีราษฎร์. (2551). การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา. มหาสารคาม : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. มหาสารคาม.
วิชาการ.คอม.(2552). [ออนไลน์]. “ความหมายของสถิติ”. [สืบค้นเมื่อ 18 กันยายน 2558].จาก : http://vcharkarn.com/lesson/1504.
อธิการต์ อุนจะนำ.(2547). สื่อการ์ตูนภาพเคลื่อนไหวเพื่อสอนทักษะการคิดสำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ศศ.บ. (สื่อศิลปะและการออกแบบสื่อ). เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
อัศวิน โอกาด้า.(2555). Flash CS5 Animation&Interaction. กรุงเทพฯ : บริษัท เน็ตดีไซน์ พับลิชชิ่งจำกัด.
อิศเรศ ภาชนะกาญจน์.(2551). Flash gig. นนทบุรี : บริษัท ไอดีซี อินโฟ ดิสทริบิวเตอร์ เซ็นเตอร์ จำกัด.
อภินันท์ ปานเพชร.(2552). การพัฒนาแอนิเมชัน 3 มิติ โดยการประยุกต์ใช้เทคนิคการสร้างแอนิเมชัน 2 มิติ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Laila [นามแฝง]. (2554). [ออนไลน์]. “ความหมายflash”.[สืบค้นเมื่อ17 มิถุนายน 2557]. จาก : http://laila-mommam.blogspot.com/2010/08/flash-flash-flash-multimediaanimation.html.