การพัฒนาแอปพลิเคชันติดตามกลุ่มบุคคล

Main Article Content

วรรณพร สารภักดิ์
พรทิพย์ ทวีวรรณกิจ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันติดตามกลุ่มบุคคล และ 2) เพื่อประเมินคุณภาพของแอปพลิเคชันที่พัฒนาขึ้น กลุ่มเป้าหมายคือ ผู้เชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน เพื่อประเมินคุณภาพของระบบ เครื่องมือที่ใช้คือ 1) แอปพลิเคชันติดตามกลุ่มบุคคล 2) แบบประเมินคุณภาพแอปพลิเคชันติดตามกลุ่มบุคคล


ผลการวิจัยพบว่า 1) แอปพลิเคชันติดตามบุคคล ที่พัฒนาขึ้น มีความสามารถเข้าสู่ระบบเพื่อแสดงพิกัดตำแหน่งที่อยู่บนแอปพลิเคชันและสามารถแสดงรายชื่อตำแหน่งของหัวหน้ากลุ่มบุคคลและบุคคลในแต่ละกลุ่มได้ และ 2) ผลการประเมินคุณภาพของระบบแอปพลิเคชันติดตามกลุ่มบุคคล จากผู้เชี่ยวชาญ 5 คน โดยแบบประเมินแบ่งออกเป็น 5 ด้าน ผลการประเมินโดยรวมอยู่ในระดับมาก xˉ = 4.29 และ S.D. = 0.53

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2553). GPS. สืบค้นจาก https://th.wikipedia.org/wiki/.
[2] จุมพล สุวรรณจันทร์. (2553). ระบบปฏิบัติการ Android. สืบค้นจาก http://biggaf.blogspot.com/2015/01/android-studio.html.
[3] โอภาส เอี่ยมศิริวงศ์. (2559). วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชน.
[4] จารุวรรณ กาฬภักดี. (2560). การพัฒนาระบบนำทางอัจฉริยะโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสมือนแบบโลเคชันเบส ผ่านอุปกรณ์เคลื่อนที่แบบพกพา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนือ, กรุงเทพฯ.
[5] ณพงศ์ วรรณพิรุณ และปณิตา วรรณพิรุณ. (2556). การพัฒนาระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ของสถานศึกษาผ่าน
โมบายแอพพลิเคชัน. การประชุมวิชาการครุศาสตร์ อุตสาหกรรมระดับชาติครั้งที่ 6. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, กรุงเทพฯ.
[6] บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.